Page 80 - CultureMag2015-3
P. 80

“ผDลiงrาeนctสioถnาsป iัตn ยTกhรaรi มA r:c hitecture”                           ในเดือนกันยายน ๒๕๑๕ ดร. สุเมธร่วมกับ ม.ล.
       ต้ังแต่ปีท้ายๆ ที่ยังคงรับราชการอยู่ ดร. สุเมธ                   ตรีทศยุทธ เขียนบทความช้ินส�ำคัญเร่ือง “Directions in
เร่ิมทำ� งานออกแบบสถาปัตยกรรมเป็นงานส่วนตัว  มีผลงาน                    Thai Architecture” ตีพิมพ์ในวารสาร อาษา อันเป็นวารสาร
ได้แก่ ศูนย์ศิลปะกรุงเทพฯ (พ.ศ. ๒๕๐๙) อันเป็นผลงานท่ ี                  วชิ าชพี ของสมาคมสถาปนกิ สยามฯ บทความดงั กลา่ วพยายาม
ไม่ได้ก่อสร้าง  ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระองค ์ วังสระปทุม               ประมวลผลงานของสถาปนิกไทยร่วมสมัย เทียบเคียงกับ
(พ.ศ. ๒๕๑๒) และการวางผังเมืองและนิคมอุตสาหกรรม                          แนวทางกระแสหลักๆ ในวงการสถาปัตยกรรมสากลในสมัย
นวนคร (พ.ศ. ๒๕๑๒) อันเป็นเมืองบริวาร (satellite town)                   น้ัน จ�ำแนกตามรูปแบบออกมาได้หลากหลายแนวทาง อัน
ท่ีได้รบั การออกแบบเมอื งแรกของประเทศไทย                                เป็นการชี้ให้เห็นถึงความซับซ้อนของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่
                                                                        ในเชงิ รปู แบบ โดยทแี่ ตล่ ะรปู แบบตา่ งมบี รบิ ทและคณุ ลกั ษณะ 
       ตอ่ มาในป ี ๒๕๑๓ ดร. สเุ มธไดต้ งั้ สำ� นกั งานออกแบบ            ทแี่ ตกต่างกนั ไปอย่างมาก
สถาปัตยกรรมบริษัท ดี อี ซี คอนซัลแตนส์ จ�ำกัด  มีผลงาน 
อันเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ได้แก่ บริติชเคาน์ซิล (พ.ศ. ๒๕๑๓)                     ความหลากหลายทางรูปแบบดังกล่าวมานี้ ปรากฏ
โรงภาพยนตรป์ ารสี  และโรงภาพยนตรแ์ อมบาสเดอร์ สะพานขาว                  ชัดในผลงานสถาปตั ยกรรมของ ดร. สเุ มธเอง  
(พ.ศ. ๒๕๑๔) โรงเรยี นสอนคนตาบอดกรงุ เทพฯ (พ.ศ. ๒๕๑๕)
ผลงานสถาปตั ยกรรมในระยะแรกนแ้ี สดงอทิ ธพิ ลแนวความคดิ                          ผลงานกลมุ่ หนงึ่ มรี ปู แบบ “ไทยรว่ มสมยั ” โดยอาศยั
ของ เลอ คอร์บูซิเอร์ อย่างชัดเจน โดยเฉพาะการใช้รูปทรง                   การอ้างอิงบางประการจากรูปแบบสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นใน
เรขาคณิตพ้ืนฐานท่ีโดดเด่น  การใช้สีเพื่อสื่อความหมายและ                 อดีต ตัวอย่างเช่น หอสมุดเล็ก วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
เนน้ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหนา้ ทใ่ี ชส้ อยกบั โครงสรา้ ง และการใช ้   (พ.ศ. ๒๕๑๑) ซึ่งเป็นอาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก 
คอนกรตี เสรมิ เหลก็ เปน็ วสั ดหุ ลกั  แสดงสจั จะของวสั ดผุ า่ นผวิ      สงู สองชน้ั  มหี ลงั คาจว่ั แบบไทย ผนงั อาคารทำ� เปน็ ระนาบโคง้
สมั ผสั หรอื รอยตอ่ วสั ดทุ เี่ กดิ จากกระบวนการกอ่ สรา้ ง เปน็ ตน้     น้อยๆ ผสมผสานกับการแบ่งส่วนอาคารเป็นฐาน ตัวอาคาร
                                                                        และเรือนยอด ท�ำให้อาคารดูอ่อนช้อย แต่สง่างามตามอย่าง
       ผลงานสถาปตั ยกรรมเหลา่ นห้ี ลายๆ แหง่ ผสมผสาน                    สถาปัตยกรรมไทยประเพณี เหมาะสมกับสถานท่ีต้ังอาคาร 
ความรคู้ วามเขา้ ใจในสถาปตั ยกรรมและผงั เมอื งของไทยเขา้ ไป             ซ่ึงเปน็ พระอารามหลวงอันเกา่ แก ่  
อย่างกลมกลืน เช่น การใช้ช้ินส่วนสำ� เร็จรูปและลักษณะการ
ปรงุ เรอื นแบบไทยประเพณ ี ปรากฏในอาคารโรงเรยี นสอนคน                           ตัวอย่างการทดลองรูปแบบสถาปัตยกรรมไทย 
ตาบอดกรงุ เทพฯ  และการใชน้ ำ้� เปน็ สว่ นสำ� คญั ของผงั บรเิ วณ         ร่วมสมัยอ่ืนๆ ได้แก่ ธนาคารแห่งเอเชีย สาขาน�้ำพอง (พ.ศ.
ในส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระองค์ วังสระปทุม และนิคม                      ๒๕๒๑) ที่มีรูปแบบเรือนหลังคาจั่ว มีเสาลอย มีน้�ำล้อมรอบ
อตุ สาหกรรมนวนคร เปน็ ต้น                                               และป้ายตราสัญลักษณ์อาคารเป็นรูปเฉลวแต่ท�ำด้วยเหล็ก  
                                                                        หรือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (พ.ศ. ๒๕๒๖) ซึ่ง
       ตอ่ มาในป ี ๒๕๑๕ ดร. สเุ มธรว่ มกบั  ม.ล. ตรที ศยทุ ธ            ออกแบบตามแนวความคิดเมืองน้�ำ มีกลุ่มอาคารขนาดใหญ่ 
เทวกุล และผู้อ่ืน ตั้งบริษัทสุเมธ ลิขิต ตรี และสหายขึ้น                 ที่ใช้หลังคาจั่วอย่างโดดเด่น และโรงเรียนนานาชาติกรุงเทพฯ
จนปี ๒๕๑๘ จึงแยกมาตั้งบริษัทสถาปนิก สุเมธ ชุมสาย                        (International School Bangkok) (พ.ศ. ๒๕๓๓) เป็นต้น  
จ�ำกัด และประกอบวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรมเรื่อยมา
ควบคู่ไปกับการเขียนภาพสีน้�ำมันและภาพลายเส้นเป็นงาน                            แนวทางการออกแบบในลักษณะนี้สอดคล้องกับ 
อดเิ รก และการรณรงค์ การศกึ ษาคน้ ควา้ เกยี่ วกบั การอนรุ กั ษ์         ผลงานหนงั สอื เลม่ ส�ำคญั ของ ดร. สเุ มธ คอื  นำ�้  : บอ่ เกดิ แหง่
ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และผังเมือง ตลอดจนงานค้นคว้า                       จารีตประเพณี สถาปัตยกรรมและผังเมือง (โครงการหนังสือ 
ทางวชิ าการเก่ียวกับประวัติศาสตร์                                       “ลักษณะไทย” ของธนาคารกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๒๒) อันเป็น 
                                                                        ข้อเขียนที่ต่อยอดมาจากวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตของ 
                                                                        ดร. สเุ มธ สะท้อนถึงความพยายามแสวงหา “รากเหง้า” ร่วม

78 วัฒนธ รม
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85