Page 83 - CultureMag2015-3
P. 83

บ ร ม ค รู

                                                                               กองบรรณาธิการ

       และ พลูหลวง  

     ทัศนศลิ ป ์ (จิตรกรรม) ป ี ๒๕๓๕

ประยูร อุลุชาฎะ เป็นบุตรของนายพยนต์กับนางค�ำน้อย                                      “เดิน เดิน เดิน อย่ายอมแพ้ใคร ชาติไทยจงเดิน   
อุลุชาฎะ  เกิดท่ีบ้านคลองมหาวงศ์ เมืองปากน�้ำ (จังหวัด                         เดิน เดิน เดิน ถ้าหวังก้าวหน้า เราต้องพากันเดิน”  ส่วน
สมทุ รปราการ) เมอื่ วนั พธุ ท ี่ ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๔๗๑  แตแ่ รก                   ภายในรา้ นเตม็ ไปดว้ ยรปู ปน้ั อนสุ าวรยี ข์ นาดใหญข่ องนกั เรยี น
เม่ือแมต่ ง้ั ทอ้ ง พ่อหวังจะได้ลูกสาวถึงแกต่ งั้ ช่ือเอาไว้ลว่ งหน้า          ศิลปากร ภายใต้การอบรมสั่งสอนของศาสตราจารย์คอราโด
วา่  “รชั น”ี  แตเ่ มอื่ คลอดออกมาเปน็ บตุ รชายอว้ นจำ�้ มำ�่  ผวิ ขาว         เฟโรจี ครูฝรั่งชาวอิตาลี ผู้ซึ่งภายหลังโอนสัญชาติเป็นไทย 
ผมแดงเหมอื นเดก็ ฝรงั่  พอ่ จงึ ตอ้ งไปกราบทา่ นเจา้ คณุ วดั กลาง              และเปลย่ี นนามเป็น “ศลิ ป ์ พีระศร”ี
ขอช่ือใหม่ ท่านตั้งให้ว่า “ประยูร” ตามเกณฑ์ของเด็กผู้ชาย 
วนั พุธ คือใชอ้ ักษรวรรคศรกี บั วรรคเดชผสมกนั                                         นับแต่น้ันมาศิลปากรจึงเป็นความใฝ่ฝันของประยูร  
                                                                               เมอื่ จบชนั้ มธั ยมฯ ๖ จากโรงเรยี นประจำ� จงั หวดั สมทุ รปราการ  
       ตอ่ มาอกี หลายสบิ ป ี เมอ่ื หนั มาเขยี นหนงั สอื  ประยรู                เพอื่ นนกั เรยี นตา่ งมงุ่ เขา้ กรงุ เทพฯ ไปเรยี นตอ่  เขากเ็ ขา้ มาดว้ ย
กย็ งั เกบ็ เอาตวั  น จากชอ่ื รชั น ี มงคลนามทพ่ี อ่ ตง้ั ให ้ มาผนวก          เชน่ กนั  แตเ่ มอ่ื มาถงึ แลว้ จงึ เพง่ิ รวู้ า่ หากตอ้ งการไปเปน็ ลกู ศษิ ย ์
กบั ถิ่นฐานบ้านเดิม กลายเป็นนามปากกา “น. ณ ปากน�้ำ”                            “อาจารย์ฝรั่ง” ท่ีศิลปากร ต้องไปเรียนโรงเรียนเพาะช่าง ซ่ึง
                                                                               ขณะนน้ั มีฐานะเปน็ โรงเรียนเตรียมของมหาวิทยาลัยศิลปากร
       ตงั้ แตย่ งั เปน็ นกั เรยี น เดก็ ชายประยรู มชี อื่ เสยี งในหมู่        เสียก่อน 
เพอ่ื นๆ วา่ มฝี มี อื ทางเขยี นรปู  มกั ถกู ครใู ชใ้ หเ้ ขยี นแผนทรี่ ปู ตบั
ไตไส้พุง รปู เคร่อื งมอื วิทยาศาสตร ์ บนกระดานด�ำบ่อยครัง้                            หลังจากจบเพาะช่าง ประยูรก็เข้าศึกษาต่อในคณะ
                                                                               จติ รกรรม ประตมิ ากรรม มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ตามความใฝฝ่ นั
       มีอยู่ปีหนึ่ง เมื่อยังเรียนมัธยมฯ ที่ปากน�้ำ เขาเคย
ตามผู้ใหญ่เข้ามาเที่ยวงานรัฐธรรมนูญท่ีวังสราญรมย์ใน                                   ศิลปากรยุคนั้นเป็นโลกของการเรียนอย่างจริงจัง 
พระนคร แล้วมายืนตกตะลึงอยู่หน้าร้านของกรมศิลปากร                               ชนิดไม่มีวันหยุด  การสอบวิชาการแต่ละครั้งมีแต่สอบ 
ทนี่ นั่ มรี ปู ปน้ั ชายรา่ งกำ� ยำ� ขนาดสองเทา่ คนจรงิ  เดนิ ยดื อกอยา่ ง     ปากเปล่า นักศึกษาทุกคนต้องแม่นย�ำในทฤษฎีสี กล้ามเน้ือ
สงา่ ผา่ เผย ขา้ งใตเ้ ขยี นวา่  เดนิ -เดนิ -เดนิ  อนั มาจากเพลง “เดนิ ”       และประวัติศาสตร์ศิลปะ เพราะครูจะจ้ีถามอะไรก็ได้ทั้งสิ้น
เพลงปลกุ ใจของหลวงวจิ ติ รวาทการ อธบิ ดกี รมศลิ ปากร ทว่ี า่                   และหากตกวชิ าใดวชิ าหนง่ึ แลว้ ก็เป็นอนั วา่ ตอ้ งซ้�ำชั้น 

                                                                                กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 81
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88