Page 81 - CultureMag2015-3
P. 81
ของวัฒนธรรมโลก ที่ไปพ้นจากการครอบง�ำทางทฤษฎีของ ในหน้าที่นี้ของ ดร. สุเมธ ได้แก่ พระที่นั่งภูวดลทัศไนย
โลกตะวนั ตก และการคน้ หารปู แบบสถาปตั ยกรรมสมยั ใหมท่ ่ี หอกลองประจ�ำเมือง และสะพานหก (พ.ศ. ๒๕๒๕) อนั เปน็
สอดคล้องกับบริบทท้องถ่ินเชิงภูมิภาคที่เกิดข้ึนในเอเชีย งานที่สร้างขึ้นใหม่จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ (historical
ตะวนั ออกเฉียงใต้ช่วงครสิ ต์ทศวรรษท่ี ๑๙๘๐ reconstruction) โดยอาศัยการสันนิษฐานจากภาพถ่ายเก่า
โดยใชว้ สั ดกุ อ่ สรา้ งสมยั ใหม่ ทวา่ การกอ่ สรา้ งขนึ้ ในสถานทซี่ ง่ึ
ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ ดร. สุเมธก็ยังคงออกแบบ ไม่ตรงกับต�ำแหน่งที่ต้ังเดิมในประวัติศาสตร์ ท�ำให้เกิดข้อ
ผลงานสถาปตั ยกรรมทย่ี งั แสดงอทิ ธพิ ลแนวความคดิ ของ เลอ โต้แยง้ ตามมาในภายหลงั ไม่น้อย
คอร์บูซิเอร์ อยู่ด้วย ได้แก่ โรงงานเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์
สยามกกี ิ (พ.ศ. ๒๕๑๘) ธนาคารแหง่ เอเชยี สาขาวารนิ ช�ำราบ กล่าวโดยสรุป ช่วงทศวรรษ ๒๕๒๐–๒๕๓๐ นับว่า
(พ.ศ. ๒๕๑๙) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา เอกมัย (พ.ศ. เป็นช่วงที่ ดร. สุเมธมีผลงานสถาปัตยกรรมมากมายและ
๒๕๑๙) โรงงานสยามยามาฮา่ (พ.ศ. ๒๕๒๐) เป็นต้น หลากหลาย จากพน้ื ฐานผลงานทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลแนวความคดิ
ของ เลอ คอรบ์ ซู เิ อร ์ ในทศวรรษกอ่ นหนา้ ไดพ้ ฒั นาสบื ตอ่ ไป
ในราวป ี ๒๕๒๐ นเี้ อง ผลงานสถาปตั ยกรรมบางสว่ น เป็นสามแนวทางหลักๆ คือแนวทางไทยร่วมสมัย (contem-
ของ ดร. สุเมธเร่ิมแสดงอิทธิพลแนวความคิดแบบโพสต์- porary Thai) แนวทางสัญลักษณ์นิยม (symbolism) และ
โมเดิร์น (postmodernism) ในหลายๆ แนวทาง แนวทาง แนวทางประวตั ศิ าสตรน์ ยิ ม (historicism) ผลงานสถาปตั ยกรรม
หน่ึงคือการมุ่งเน้นให้สถาปัตยกรรมนั้นเป็นสัญลักษณ์ท่ีส่ือ ในแต่ละแนวทางต่างมีความชัดเจน บางงานสร้างข้อถกเถียง
“สาร” โดยตรง โดยมไิ ดค้ ำ� นงึ ถงึ ความเปน็ พนื้ ถนิ่ หรอื เมอื งนำ้� ในสงั คม ขณะทีบ่ างงานกไ็ ด้รับการยอมรบั ในระดบั สากล
ใดๆ ตัวอย่างได้แก่ ส�ำนักงานใหญ่ธนาคารแห่งเอเชีย (พ.ศ.
๒๕๒๙) หรือที่รู้จักกันในนาม “ตึกหุ่นยนต”์ เพราะ ดร. สเุ มธ ในปี ๒๕๔๑ ดร. สุเมธได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ
ตง้ั ใจทำ� ใหอ้ าคารขนาดใหญม่ ลี กั ษณะเหมอื นหนุ่ ยนตข์ องเลน่ เปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาต ิ สาขาศลิ ปะสถาปตั ยกรรม (สถาปตั ยกรรม
สื่อถึงการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาให้บริการแก่ลูกค้าของ รว่ มสมัย)
ธนาคาร อาคาร “ตึกโดม” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์
รังสิต (พ.ศ. ๒๕๒๙) ใช้โครงโปร่ง (ghostframe) จ�ำลอง ระยะหลงั ดร. สเุ มธใชเ้ วลากบั งานจติ รกรรมมากขน้ึ
เส้นรอบรูปของอาคารตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แมจ้ ะยงั คงความสนใจในการอนรุ กั ษส์ ถาปตั ยกรรม ตลอดจน
ท่าพระจันทร์ มาเป็นประธานของอาคารในวิทยาเขตใหม ่ การประกอบวชิ าชพี สถาปตั ยกรรมสบื ตอ่ มา ดงั ปรากฏเปน็ งาน
เพ่ือประโยชน์เชิงสัญลักษณ์ เช่นเดียวกับอาคารส�ำนักงาน ศกึ ษาวจิ ยั วางผงั และออกแบบอาคารตา่ งๆ ซง่ึ กย็ งั คงสะทอ้ น
บริษัทเนช่ันมัลติมีเดียกรุ๊ป ถนนบางนา–ตราด (พ.ศ. ๒๕๓๗) แนวทางหลักๆ สามแนวทางในการออกแบบดังกล่าวมาแล้ว
อันเป็นอาคารส�ำนักงานสูง ๑๕ ชั้น ออกแบบเป็นรูปนักข่าว
ก�ำลังน่งั ท�ำงานท่ีหน้าจอคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น ตัวอย่างงานแบบประวัติศาสตร์นิยม ได้แก่ การ
ร้ือฟื้นไปรสนียาคาร (พ.ศ. ๒๕๔๖) โครงการประตูนกยูง
ในช่วงทศวรรษ ๒๕๒๐–๒๕๓๐ ความพยายามก่อ (พ.ศ. ๒๕๕๕, ไม่ได้ก่อสร้าง) และโครงการประตูสามยอด
กระแสการอนรุ กั ษส์ ถาปตั ยกรรมและชมุ ชนของ ดร. สเุ มธและ (พ.ศ. ๒๕๕๗ อย่รู ะหว่างการดำ� เนินการ)
คณะเร่ิมส่งผลชัดเจนข้ึน โดยเฉพาะในช่วงการสมโภชกรุง
รตั นโกสนิ ทร ์ ๒๐๐ ป ี ในป ี ๒๕๒๕ ซง่ึ มกี ารเตรยี มการอนรุ กั ษ์ งานในแนวทางสญั ลกั ษณน์ ยิ ม ไดแ้ ก ่ สำ� นกั หอสมดุ
และพฒั นาตา่ งๆ มาตงั้ แตป่ ี ๒๕๒๐ ดร. สเุ มธมบี ทบาทสำ� คญั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ท�ำเนียบองคมนตรี
ในคณะอนกุ รรมการหลายคณะ ทม่ี หี นา้ ทป่ี รบั ปรงุ และอนรุ กั ษ์ (พ.ศ. ๒๕๔๗) และโรงแรม S31 (พ.ศ. ๒๕๕๓) เปน็ ตน้
โบราณสถานหลายแห่ง ตลอดจนการก�ำหนดหลักเกณฑ์
ควบคมุ การกอ่ สรา้ งในเขตกรงุ รตั นโกสนิ ทร ์ ผลงานออกแบบ ส่วนงานท่ีอ้างอิงรูปแบบสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ิน
ได้แก่ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ.
๒๕๔๑) โรงแรมเลอเมอริเดียน อังกอร์ (พ.ศ. ๒๕๔๕)
และมหาวิทยาลัยแมฟ่ า้ หลวง (พ.ศ. ๒๕๔๖) เป็นต้น
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 79