Page 87 - CultureMag2015-3
P. 87
บางทนี กึ วา่ จะไปหาซอื้ อาหารเอาขา้ งหนา้ แตย่ งิ่ เดนิ จนเม่ืออายุได้ ๖๔ ปี เขาก็ได้รับการยกย่องให้เป็น
ไปๆ กย็ ิ่งรกขนึ้ ๆ ไม่พบบ้านคนเลย หวิ หนักๆ เขา้ กต็ อ้ งเดด็ ศิลปินแหง่ ชาต ิ สาขาทัศนศิลป ์ (จิตรกรรม) ในปี ๒๕๓๕
ยอดกระถนิ กินตา่ งขา้ วกม็ ี
ประยูร อุลุชาฎะ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์
จากประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั ในการสำ� รวจอยธุ ยาครง้ั นนั้ (จิตรกรรม) ปี ๒๕๓๕ ถึงแก่กรรมด้วยอาการหัวใจวาย ท่ี
ทำ� ใหเ้ ขามองโลกนเี้ ปลยี่ นไป หลายตอ่ หลายครงั้ ทปี่ ระยรู ตอ้ ง บา้ นพกั รมิ ทะเล อำ� เภอชะอำ� จงั หวดั เพชรบรุ ี ระหวา่ งเดนิ ทาง
เสยี ใจ ชำ้� ใจ ทไ่ี มม่ ใี ครใสใ่ จจะรกั ษาพทุ ธศลิ ปะอนั ล�้ำคา่ ทเี่ คย ไปพักผ่อนช่วงปีใหม่กับครอบครัว เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม
ผา่ นตา เจดยี บ์ างองคท์ เ่ี ขาเคยปลาบปลมื้ ในความยงิ่ ใหญ ่ เมอื่ ๒๕๔๓ หลังจากงานฉลองเนื่องในวาระ ๖ รอบ หรือ ๗๒ ปี
ย้อนกลับไปดูอีกคร้ัง กลับเหลือเพียงลานโล่ง ตู้พระธรรม ไมน่ านนัก
อันเลิศเลอด้วยลายรดน้�ำฝีมือช่างชั้นครู สูญหายไปโดยไร ้
รอ่ งรอยและไมท่ นั มใี ครสงั เกตเหน็ โบสถเ์ กา่ แกซ่ ง่ึ ละลานตา แม้จะล่วงลับไปเกือบ ๒๐ ปีแล้ว แต่ผลงานหนังสือ
ด้วยภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ถูกร้ือทลายลงทันทีท่ีโบสถ์ ของเขา ทงั้ ดา้ นศลิ ปะทใี่ ชน้ ามปากกา น. ณ ปากน�้ำ และดา้ น
คอนกรตี หลังใหมส่ รา้ งเสรจ็ โหราศาสตร ์ ในชอื่ พลหู ลวง ยงั คงไดร้ บั การตพี มิ พซ์ ำ้� อยอู่ ยา่ ง
สมำ่� เสมอ เปน็ ประจกั ษพ์ ยานยนื ยนั ถงึ คณุ คา่ อนั ไมเ่ สอื่ มถอย
ยง่ิ เมอ่ื เขาเขา้ รว่ มงานกบั วารสารเมอื งโบราณ ทเ่ี รมิ่ ไปตามกาลเวลา
ออกวางตลาดในปี ๒๕๑๗ โดยการสนับสนุนของคุณเล็ก
และคณุ ประไพ วริ ยิ ะพนั ธ ์ุ ผกู้ อ่ ตง้ั เมอื งโบราณ บางป ู ชอ่ื ของ เราเชื่อว่ายังจะมีคนรุ่นหลังที่ได้รับแรงบันดาลใจ
น. ณ ปากน�้ำ ก็แทบจะกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับการ
อนรุ กั ษโ์ บราณสถานวตั ถ ุ สาธารณชนจะรจู้ กั เขาในแงน่ นั้ เปน็ จากงานของเขาอกี นบั ไม่ถ้วนในกาลข้างหน้า
อย่างมาก มากเสียจนท�ำให้สถานะความเป็นจิตรกร ความ
เปน็ ศิลปนิ ท่ีติดตวั เขามาแต่เดิมพร่าเลอื นไป อา้ งอิง
กรมศลิ ปากร. นทิ รรศการเชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ อาวโุ ส พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๗
อีกหลายปีต่อมาในสูจิบัตรงานแสดงเด่ียวครั้งแรก ประยูร อุลุชาฎะ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,
ในชีวิต ประยูร อุลุชาฎะ ร�ำพึงไว้ว่า “บางคนระยะหลังนี้คบ ๒๕๓๗.
กนั มาตง้ั ๑๐ ป ี ยงั ไมร่ วู้ า่ ขา้ พเจา้ เขยี นรปู เปน็ มนั เปน็ ความผดิ กาหลงดงลดา. บางเส้ียวตอนของ ประยูร อุลุชาฎะ ในความเป็น
อย่างมหันต์ท่ีข้าพเจ้าไม่ซื่อสัตย์ต่อธรรมชาติและวิญญาณ น. ณ ปากน้�ำ และ พลูหลวง. สารคดี ฉบับท่ี ๒๙ (กรกฎาคม
ของตนเอง” ๒๕๓๐), หน้า ๖๓–๖๘.
นพิ นธ ์ ขำ� วไิ ล (บรรณาธกิ าร). อาจารยศ์ ลิ ปก์ บั ลกู ศษิ ย.์ พมิ พค์ รงั้ ท ี่ ๒.
แม้ว่าเขาจะเคยเขียนรูปสีน้�ำมันไว้มาก แม้แต่ภาพ สำ� นกั วจิ ัยศลิ ป ์ พีระศรี, ๒๕๔๒.
“จันทบุรี” ท่ีเคยได้รางวัลเหรียญทองก็เป็นภาพสีน้�ำมัน แต ่ ประยูร อุลุชาฎะ. (น. ณ ปากน้�ำ) นิทรรศการภาพเขียนและผลงาน
ต่อมาด้วยเหตุท่ีเขาท�ำงานหลายด้าน จะมีโอกาสเขียนรูป เนอ่ื งในวนั เกดิ ๕ รอบนกั ษตั ร. กทม. : โรงพมิ พพ์ ฆิ เณศ, ๒๕๓๑.
ก็แต่ในยามว่าง จึงเขียนแต่ภาพสีน้�ำ เพราะอุปกรณ์ต่างๆ
ขนไปงา่ ย การเขยี นกส็ ะดวก ไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ นเหมอื นสนี ำ�้ มนั . รวบรวมขอ้ เขยี นของประยรู อลุ ชุ าฎะ. กทม. : มตชิ น,
โดยเฉพาะเมื่ออายุมากข้ึน โรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ร่างกาย ๒๕๓๑.
ไมแ่ ขง็ แรงเหมอื นกอ่ น เขาจงึ เขียนแตภ่ าพสีน�้ำเป็นหลัก
. (น. ณ ปากน�้ำ) ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา.
งานสีน้�ำของประยูรมีเอกลักษณ์คือลักษณะสด พมิ พ์คร้งั ท่ี ๔. กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ, ๒๕๕๘.
ฉับไว รวดเร็ว สีสันสะอาดกระจ่างตา และจะไม่มีสีด�ำเลย ปิยะพร กัญชนะ. (บรรณาธิการ). ประยูร อุลุชาฎะ ปีท่ี ๖๐ แห่งการ
ดว้ ยเขาเหน็ วา่ สดี ำ� นน้ั เหมาะสำ� หรบั ตดั เสน้ หรอื ใหแ้ สงเงาแบบ เปน็ ศลิ ปิน. กท. : เมืองโบราณ, ๒๕๓๑.
งานของเด็กนกั เรียนเท่านั้น ศรณั ย ์ ทองปาน. “ปที เ่ี จด็ สบิ สองของชวี ติ : ประยรู อลุ ชุ าฎะ”. สารคดี
ฉบับที่ ๑๘๙ (พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓), หนา้ ๑๖๘–๑๘๐.
. “จะมอี ะไรวเิ ศษไปกวา่ การไดฟ้ งั ศลิ ปนิ เลา่ เรอ่ื งศลิ ปะ”.
สารคดี ฉบบั ท ่ี ๑๙๐ (ธนั วาคม ๒๕๔๓), หนา้ ๑๔๙–๑๕๒.
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 85