Page 78 - CultureMag2015-3
P. 78

สถาปัตยกรรมกับสถาปนิก “ชั้นครู” (Modern Masters)                         พระราชวังสราญรมย์ จวนเจ้าเมืองสงขลา โลหะปราสาท 
อย่าง อัลวาร์ อัลโต (Alvar Aalto) บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์                  วัดราชนดั ดาราม เป็นต้น
(Buckminster Fuller) และ เลอ คอรบ์ ซู เิ อร ์ (Le Corbusier) 
ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากทั้งต่อแนวความคิด ลักษณะการ                                ผลงานส�ำคัญอีกประการหน่ึงของ ดร. สุเมธขณะ 
ประกอบวิชาชีพ และผลงานสถาปัตยกรรมของ ดร. สุเมธ                           รับราชการอยู่ คือการผลักดันให้มีการอนุรักษ์เมืองและ
ในเวลาต่อมา                                                              สถาปัตยกรรมโบราณที่กรุงศรีอยุธยาอย่างเป็นระบบ โดย
                                                                         อาศัยหลักการทางผังเมือง จนน�ำไปสู่การเกิดข้ึนของอุทยาน
       เช่นเดียวกับ เลอ คอร์บูซิเอร์  ดร. สุเมธมอง                       ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ซ่ึงได้รับคัดเลือกให้ข้ึน
สถาปตั ยกรรมอยา่ งเปน็ องคร์ วม เปน็ หนงึ่ ในวชิ ามนษุ ยศาสตร์           ทะเบยี นเป็นมรดกโลกในป ี ๒๕๓๔  
(the humanities) อันหลากหลายและเชื่อมโยงสัมพันธ์ 
กันอย่างสลับซับซ้อน นอกเหนือไปจากการศึกษาวิชา                                   นอกจากนี้ ดร. สุเมธยังเป็นผู้ริเร่ิมโครงการอุทยาน
สถาปัตยกรรม ดร. สุเมธจึงศึกษาท้ังวิชาจิตรกรรม ปรัชญา                     ประวัติศาสตร์สุโขทยั -ศรีสัชนาลยั  อกี ดว้ ย 
วิศวกรรม ประวัติศาสตร์ศิลปะ ตลอดจนผังเมือง ท�ำให้
สามารถเช่ือมโยงองค์ความรู้ข้ามพรมแดนของสาขาวิชาได้                              นอกเหนือจากหน้าที่ราชการแล้ว ดร. สุเมธยังมี
จนเกิดเป็นมุมมองใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพท่ีน่าสนใจ                     บทบาทผลักดันกระแสการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมผ่าน 
โดยเฉพาะวทิ ยานพิ นธด์ ษุ ฎบี ณั ฑติ  ซงึ่ วา่ ดว้ ยเรอื่ งกำ� เนดิ และ  เครอื ขา่ ยทางสงั คมอน่ื ๆ โดยในป ี ๒๕๑๑ ไดร้ ว่ มกบั สถาปนกิ
พฒั นาการของเมืองน�้ำทัว่ โลก                                            และนักวิชาการ ตั้งคณะกรรมาธิการวิชาการ สาขาอนุรักษ์
                                                                         ศิลปกรรม สมาคมสถาปนิกสยามฯ ขึ้น ร่วมกับนายนิจ 
แกลาระรงบัานราดช้ากนาอรนทรุ ก่ี ักรษม์ โยธาธิการ                         หิญชีระนันทน์ นายมยูร วิเศษกุล นายวิลาศ มณีวัต นาย
       ในป ี ๒๕๐๗ ดร. สเุ มธเขา้ รบั ราชการชดใชท้ นุ รฐั บาล             ศริ ชิ ยั  นฤมติ รเรขการ นายสลุ กั ษณ ์ ศวิ รกั ษ ์ รองศาสตราจารย์
ทก่ี องแบบแผน กรมโยธาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย  ปตี อ่ มา                    แสงอรุณ รัตกสิกร นายโอภาส วัลลิภากร และนายอุรา 
กรมโยธาธิการต้ังกองผังเมืองรวมขึ้นใหม ่ ดร. สุเมธจึงย้ายมา               สุนทรศารทูล เป็นต้น มุ่งเผยแพร่ความรู้ให้สาธารณชน
สังกัดกองท่ีต้ังข้ึนใหม่น้ี และมีโอกาสท�ำงานร่วมกับนายนิจ                ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของมรดกสถาปตั ยกรรมและศลิ ปกรรม 
หญิ ชีระนนั ทน ์ ซง่ึ มคี วามสนใจรว่ มกันเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตร์      ของชาติ ผ่านกิจกรรมต่างๆ นิทรรศการ และวารสาร อาษา
สถาปัตยกรรม ศิลปกรรม ผังเมือง ตลอดจนการอนุรักษ์                          ของสมาคมสถาปนกิ สยามฯ เปน็ ตน้  
สถาปตั ยกรรม  
                                                                                ต่อมาในปี ๒๕๑๔ ดร. สุเมธได้ร่วมก่อตั้งสมาคม
       เวลานนั้ เปน็ ชว่ งสงครามเวยี ดนาม ประเทศไทยกำ� ลงั               อนรุ กั ษศ์ ลิ ปกรรมและสง่ิ แวดลอ้ ม (อศส. / SCONTE) ซง่ึ เพมิ่  
“พฒั นา” เขา้ สสู่ มยั ใหมอ่ ยา่ งเตม็ ตวั  มกี ารสรา้ งสาธารณปู โภค     บทบาทด้านการอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
สาธารณูปการ และการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ว                            ขึ้นอีกด้วย ก่อให้เกิดกระแสความสนใจของสาธารณชน 
กว้างขวาง ท�ำให้โบราณสถาน ก�ำแพงเมือง คูเมือง และ                        เกยี่ วกบั การอนรุ กั ษม์ รดกของชาติ ทง้ั ทางธรรมชาติ และทาง
ปอ้ มปราการ ถกู ละเลยทอดทง้ิ   ดร. สเุ มธและนายนจิ จงึ อาศยั             วัฒนธรรม
ขอบเขตหน้าท่ีของกองผังเมืองรวม กรมโยธาธิการ ผลักดัน 
ให้เกิดการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชนในเมืองต่างๆ                        ๓	 อาคารสำ� นักงานบริษทั เนชัน่ มัลติมีเดยี กรปุ๊
ทั่วประเทศ จนสามารถยับยั้งการร้ือถอนหรือดัดแปลง                          	 ถนนบางนา–ตราด (พ.ศ. ๒๕๓๗)
โบราณสถานอันทรงคุณค่าจ�ำนวนมาก เช่น ก�ำแพงเมือง
เชยี งใหม ่ กำ� แพงเมอื งนครศรธี รรมราช ทอ้ งพระโรง วงั ทา่ พระ          	 (ภาพ : ส�ำนกั งานสถาปนิก SJA+3D)

                                                                         ๔	 “ตึกโดม” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ย์รังสติ (พ.ศ. ๒๕๒๙)
                                                                         ๕	 ไปรสนียาคาร (พ.ศ. ๒๕๔๖)
                                                                         	 (ภาพ : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั )

76 วฒั นธ รม
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83