Page 110 - CultureMag2015-3
P. 110
ของสงั คมดนตรจี รงิ ๆ การขบั เคลอื่ นจรงิ ๆ มนั อยทู่ ก่ี รงุ เทพฯ เพราะว่าครูส่วนใหญ่ท่านจะหนักไปทางปฏิบัติ คนบรรยาย
บา้ นเราก็อยูท่ ่ีกรงุ เทพฯ ก็เลยตัดสินใจกลับเขา้ มา แล้วไปอยู่ ไมม่ ี คนพดู มากไม่ม ี พอดีเราก็เปน็ คนพูดมาก (หวั เราะ)
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ (มหาวิทยาลัยมหิดล) อีก ๑๔–๑๕ ปี
กอ่ นจะตดั สนิ ใจลาออกมาเกอื บ ๓ ปแี ลว้ ครบั ทจ่ี รงิ งานสอน “ผมชอบทุกคลาส (class–ช้ันเรียน) ท่ีเข้าไปสอน
หนังสือเป็นงานท่ีรักมาก แล้วในช่วงจังหวะหน่ึงของชีวิต แม้จะสอนเร่ืองเดิม แต่มันไม่เคยมีเร่ืองเดิมเลย เราจะดูหน้า
ก็ยงั คดิ วา่ เปน็ งานท่ที �ำไดด้ ีทส่ี ดุ ” ห้องว่าเด็กต้องการอะไร ไม่ต้องการอะไร แล้วก็เอาสิ่งท่ีใกล้
ตัวเขาท่ีสุด พยายามเช่ือมโยงกับอดีตให้ได้ โดยเฉพาะเรา
“ครูเอ”้ สอนเรื่องเกี่ยวกับสิ่งท่ีมันผ่านมาแล้ว อย่างประวัติศาสตร์
ดนตร ี ถา้ มนั ไมใ่ กลเ้ ขา หนงึ่ ไมจ่ ำ� สอง ไมเ่ ปน็ ประโยชน ์ เอา
“ชว่ งทส่ี อนวทิ ยาลยั ดรุ ยิ างคศลิ ป ์ ภาควชิ าดนตรไี ทย ไปท�ำอะไรต่อไม่ได้ ช่วงแรกของการพูดคุยแต่ละคลาสจะ
และตะวันออก แรกเร่ิมเดิมทีไปสอนเรื่องการบันทึกเสียง เปน็ การเลา่ เรอ่ื งวา่ เกดิ อะไรขนึ้ ผมใชก้ ารเรยี นรสู้ ดๆ จากวทิ ยุ
แต่จริงๆ แล้วหลักของเราน่าจะเป็นดนตรีไทยมากกว่า หลัง ท่ีฟังตอนขับรถไปสอนเป็นข้อมูลอย่างหนึ่ง ส่วนข้อมูล
จากนนั้ เลยไปสอนการปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งดนตรไี ทย แตท่ โ่ี ดนหนกั ๆ อีกอย่างหน่ึง เราท�ำเร่ืองจดหมายเหตุในอดีต เราก็พยายาม
เลยคือวิชาบรรยายท้ังหลาย ประวัติดนตรีไทย อะไรต่ออะไร เช่ือมโยงข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ พยายามให้เด็กมองเห็นว่า
ทกุ สงิ่ ทุกอยา่ งมันเก่ียวขอ้ งกนั
108 วัฒนธ รม