Page 114 - CultureMag2015-3
P. 114
เ ปิ ด อ่ า น ห้าเดอื นกลางซากอฐิ ปนู ทอี่ ยธุ ยา
กองบรรณาธิการ
น. ณ ปากนำ้�
112 วฒั นธ รม ส�ำนักพมิ พ์เมืองโบราณ พิมพ์ครงั้ ท ี่ ๔, ๒๕๕๘
๕๓๖ หนา้ ๕๕๐ บาท
การกลับมาสู่ท้องตลาดของผลงานชิ้นส�ำคัญโดย น. ณ ปากน�้ำ (ประยูร อุลุชาฎะ
๒๔๗๑–๒๕๔๓) ศิลปินแห่งชาติผู้เป็นทั้งจิตรกรและปราชญ์ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ ช่วง
ระหว่างปี ๒๕๐๙–๒๕๑๐ ท่านได้ลงพื้นท่ีออกส�ำรวจ ลุยป่ารก เพ่ือบันทึกภาพ ร่างภาพ
สเกตช์ เก็บข้อมูลรายละเอียดของโบราณสถานอยุธยาเป็นเวลาถึง ๕ เดือน น่ีจึงเป็น
งานส�ำรวจเก่ียวกับอยุธยาท่ีทรงคุณค่าเพราะเป็นข้อมูลปฐมภูมิ ท้ังรายละเอียด ภาพร่าง
ลายเส้น และภาพถ่ายเก่าของโบราณสถานในอยุธยาก่อนได้รับการบูรณะ ผู้ที่ช่ืนชอบงาน
ศิลปะไทยไมค่ วรพลาด
ทแแลลอ้ ะะงโรสบัตนรนาาโมณกหสรลาินวชทงปรสร ์ มใะนเัยพบสณรุโบิขี ททัยท าองยปธุ รยะาว ตั ธศิ นาบสรุ ตี ร์
กรมศลิ ปากร ๒๕๕๗
๑๒๐ หนา้
สนามหลวงคือพ้ืนที่ส�ำคัญของราชธานีในดินแดนไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย สืบเน่ือง
มาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงพัฒนาการของสนามหลวงในแต่ละยุค
ลักษณะทางกายภาพ ความส�ำคัญ และความสัมพันธ์ต่อการสร้างความรู้สึกร่วมของคนใน
สงั คม ผา่ นพระราชพธิ สี ำ� คญั คอื พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั อนั สมั พนั ธก์ บั วถิ ชี วี ติ
การเพาะปลูกของผู้คน และงานพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพที่สะท้อนคติความเช่ือ
ของคนไทย
ชวี ิตอทุ ิศเพ่อื สยาม
เบอร์ธา่ เบล๊านท์ แมค็ ฟารแ์ ลนด์
เด็กวัฒฯ รุน่ ๑๐๐ แปลและเรยี บเรียง จัดพิมพโ์ ดยคณะบุคคลวฒั นา ๑๐๐, ๒๕๕๗
๓๓๕ หนา้ ๓๙๐ บาท
ชวี ประวตั ขิ องอำ� มาตยเ์ อก พระอาจวทิ ยาคม หรอื นายแพทย ์ จอรจ์ บ.ี แมค็ ฟารแ์ ลนด์
ชาวอเมรกิ นั ทเ่ี กดิ ในแผน่ ดนิ สยามชว่ งปลายรชั กาลท ่ี ๔ หนงั สอื เลม่ นเ้ี ขยี นโดยภรรยาของทา่ น
คุณพระอาจวิทยาคมเป็นบุคคลส�ำคัญผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาแพทย์แบบตะวันตก
ในประเทศสยาม เรื่องราวมากมายในหนังสือจึงเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การแพทย์
เช่น ความยากล�ำบากในการต้ังโรงเรียนแพทย์หลวง การรักษาผู้ป่วยด้วยการแพทย์แบบ
ตะวนั ตกอนั เปน็ สงิ่ ใหมส่ ำ� หรบั คนไทย ความขดั แยง้ กบั หมอแผนโบราณ นอกจากนนั้ ยงั เปน็
บันทึกของสังคมไทยและเหตุการณ์ต่างๆ ต้ังแต่สมัยรัชกาลท่ี ๕ ถึงสงครามโลกคร้ังท่ี ๒
เม่ือคุณพระและภรรยาตอ้ งตกอยูใ่ นฐานะ “ชนชาตศิ ัตร”ู ในประเทศอันเปน็ ที่รกั ของทา่ น