Page 77 - CultureMag2015-2
P. 77
แม้ทุกวนั นหี้ ลายคนจะรู้จักหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
จากภาพยนตรอ์ งิ ประวตั ศิ าสตรท์ ุนสรา้ งมหาศาลอยา่ ง สรุ โิ ยไท
(๒๕๔๔) และ ตำ� นำนสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช รวมหกภาค
เปน็ อยา่ งด ี (๒๕๕๐ -๒๕๕๗) แตห่ ากยอ้ นกลบั ไปมองจากจดุ
เรม่ิ ตน้ ของการท�าหนงั ของทา่ นกจ็ ะพบเหน็ ความเปล่ยี นแปลง
ในอาชพี ผกู้ า� กบั ท่สี รา้ งคณุ ปู การใหแ้ กว่ งการหนงั ไทยแตกตา่ ง
กนั ในแต่ละยุคสมยั
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือทีใ่ นสื่อต่างๆ มัก
เรยี กกนั วา่ “ทา่ นมยุ้ ” ประสตู เิ มอ่ื วนั ท่ ี ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๔๘๓
ทกี่ รุงเทพมหานคร เป็นโอรสในพลโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าอนุสรณ์มงคลการ และหม่อมอุบล ยุคล ซึ่งเป็น
เจา้ ของบรษิ ทั ละโวภ้ าพยนตร ์ จา� กดั ศกึ ษาจากโรงเรยี นวชริ าวธุ
วิทยาลัย ก่อนจะไปเรียนระดับมัธยมปลายฯ ท ี่ Geelong
Grammar School ประเทศออสเตรเลีย แล้วศึกษาต่อท ี่
University of California Los Angeles (UCLA) ประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า สาขาธรณวี ทิ ยา โดยเลอื กภาพยนตรเ์ ปน็ วชิ าโท
ดว้ ยความสนใจศาสตรแ์ ขนงนท้ี ่ีคลกุ คลมี าต้งั แตเ่ ดก็ และกลบั
มาเริม่ ก�ากับภาพยนตร์โทรทศั น์เรือ่ ง ผู้หญิงก็มีหัวใจ ในปี
๒๕๐๑ และก�ากับภาพยนตร์เรือ่ งแรก มันมำกับควำมมืด ซึ่ง
เปน็ ภาพยนตรแ์ นวไซไฟ ในป ี ๒๕๑๕
เมือ่ มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าภาพยนตร์ของท่านมุ้ยมัก
สนใจวถิ ชี วี ติ ผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คม คา� ตอบแฝงอารมณข์ นั ของ
ท่านคือ “ก็เพรำะว่ำคนส่วนใหญ่ของประเทศเป็นเช่นนัน้
ดังนัน้ เรื่องรำวส่วนใหญ่ทีเ่ กิดขึน้ ก็ควรจะเน้นถึงชนกลุ่มนี้
มำกกว่ำ เพรำะถ้ำจะไปพูดถึงสำวไฮโซ ก็คงมีเรื่องให้พูดถึง
ให้เอำมำทำ� เป็นหนังไม่เท่ำไหร่นัก” หากปฏิเสธไม่ได้ว่า
แนวทางการนา� เสนอนบั ต้งั แตผ่ ลงานภาพยนตรเ์ ร่อื งท่ี ๒ น้นั
ไดร้ บั อทิ ธิพลวรรณกรรมสะทอ้ นสงั คม หรอื “วรรณกรรมเพอ่ื
ชีวิต” ที่ก�าลังเบ่งบานในขณะนัน้ เห็นได้จากการดัดแปลง
นวนิยายทีโ่ ดดเด่นสองเรื่องคือ เขำช่ือกำนต์ (๒๕๑๖) ของ
สุวรรณี สุคนธา (ตีพิมพ์ ๒๕๑๓) และ เทพธิดำโรงแรม ของ
ณรงค์ จันทร์เรือง ให้กลายเป็นภาพยนตร์ ก่อนจะพัฒนา
เปน็ การสรา้ งจากเรอ่ื งท่เี ขยี นบทข้นึ เองในเวลาตอ่ มา จนกลาย
เป็นเอกลกั ษณ์ส�าคัญ
เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๘ 75