Page 73 - CultureMag2015-2
P. 73
กำรอนุรกั ษ์และฟน้ื ฟูภำษำ
เมอ่ื คนอมึ ปท้ี ราบสถานการณข์ องภาษาและวฒั นธรรม
ของตนว่าก�าลังอยู่ในภาวะเสีย่ งต่อการสูญหาย จึงเกิดความ
ตระหนักและรวมตัวกันเพื่อหาทางป้องกัน ตลอดจนหาทาง
อนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟภู าษาอมึ ป้ี เรม่ิ จากการพฒั นาระบบตวั เขยี น
ภาษาอมึ ปอ้ี กั ษรไทย เพ่อื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื บนั ทกึ เรอ่ื งราวและ
รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ได้แก่ ประวัติศาสตร์บอกเล่า วิถี
ชวี ติ วฒั นธรรม ประเพณี พธิ ีกรรมคา� ส่งั สอน นทิ าน เปน็ ตน้
ต่อมาเยาวชนอึมปี้และแกนน�าได้รวบรวมองค์ความรู้
ท้องถิ่น เช่น พิธไี หว้เทวดา ปจู าเค (การสะเดาะเคราะห์)
คะลง ป๊าเค (ประเพณีข้าวล้นบาตร) พิธีสังคหะ การทา�
ไม้กวาด อาหารพืน้ บ้าน ฯลฯ มาจัดท�าสือ่ เผยแพร่ ให้น่า
สนใจยิ่งขึ้น เช่น การทา� หนังสือท�ามือ หนังสัน้ และโปสเตอร์
แหล่งเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมอมึ ป้ี
อนึ่งภาษาถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมทจี่ ับต้องไม่ได้
อย่างหนึง่ หลายคนมองว่าภาษาเป็นเพียงเครื่องมือสื่อสาร
เท่านั้น แท้จริงแล้วภาษาเป็นทเี่ ก็บและสะสมองค์ความรู้
ตา่ งๆ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากเรอ่ื งเลา่ คา� สอน ความรทู้ อ้ งถ่นิ ตา่ งๆ
นอกจากนี้ภาษายังเป็นสิง่ ทีบ่ ่งบอกอัตลักษณ์และชาติพันธุ์
ดั้งเดิม ภาษาจึงเป็นมรดกอันล�้าค่าทีค่ วรปกปักรักษาและ
คุ้มครองเพือ่ เก็บไว้เปน็ มรดกของชมุ ชนและชาติตอ่ ไป
< หนงั สือท�ามือภาษาอมึ ป้ี
ทีก่ ลุ่มเยาวชนรว่ มกันจัดท�าขึ้น
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๘ 71