Page 57 - E-Book Culture 02_20182
P. 57
หมอเหยา ชาวผู้ไท สกลนคร ลุกขึ้นร่ายร�าอ�าลา
กวาดออกไป ให้ผู้ป่วยนอนหันหน้าไปทางทิศตะวันตก เหยา คือ การยืนยันตัวตนและเป็นขวัญ
ใช้ใบไม้จุ่มเหล้าหรือสุราขาวกวาดออกไป แล้วเอาดาบกวาด ก�าลังใจ
ออกไปอีกรอบ แม้ว่าทุกวันนี้การแพทย์สมัยใหม่จะพัฒนาก้าวหน้าขึ้น
เมื่อครบรอบปีของการเหยา หมอเหยาจะถูกเชิญมาท�าพิธี กระนั้นก็ยังมีกลุ่มชนอีกหลายชุมชนที่ยังยึดถือสืบต่อพิธีกรรม
อีกครั้งหนึ่งเพื่อต่ออายุหมอเหยา และขอขมาผีและเพื่อเป็น รักษาแบบดั้งเดิมไว้ จะว่าไปแล้วหากความป่วยไข้อยู่ที่จิตใจ
สิริมงคลแก่ชุมชนผู้ไทเอง เป็นส�าคัญ การที่ได้ประกอบพิธีกรรมนับเป็นการเรียกขวัญ
อาการเจ็บป่วยที่ใช้พิธีเหยาประกอบการรักษา ส่วนใหญ่ ก�าลังใจให้ผู้ป่วย โดยเฉพาะเมื่อได้อยู่ในพิธีกรรมที่รายล้อมด้วย
เป็นอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย อันเป็นอาการทั่วไปของ เพื่อนบ้านญาติมิตร เป็นความอบอุ่นและก�าลังใจส�าคัญที่ท�าให้
ผู้ท�าการเกษตร อาการเจ็บป่วยเกี่ยวกับกระดูกและข้อซึ่งมักเป็น โรคภัยบรรเทา
อาการของผู้สูงอายุ หรือเจ็บป่วยทั่วไป เป็นไข้ ปวดเมื่อย เสียงแคนและการร่ายร�าก็ไม่ต่างจากการใช้ดนตรีบ�าบัด
อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรง อีกทางหนึ่งนั่นเอง เมื่อจิตใจฮึกเหิมเสียแล้ว ร่างกายก็สดชื่น
อาการป่วยที่หาสาเหตุไม่ได้ โดยมีความเชื่อจากสิ่งเหนือ แข็งแรงตามไปด้วย
ธรรมชาติกระท�าให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเวลามีอุบัติเหตุเมื่อ หากรื้อฟื้นพิธีกรรมเหยาให้ชุมชนยังด�ารงไว้ผสานกับ
ผู้ป่วยกลับมาพักฟื้นที่บ้าน ญาติผู้ป่วยจะกระท�าพิธีเหยาเพื่อ การรักษาด้วยการแพทย์สมัยใหม่ ไม่แน่ว่าอาจได้วิธีการรักษา
เรียกขวัญและก�าลังใจให้และที่ส�าคัญของวิถีชีวิตแบบชุมชน คือ เฉพาะทางที่น�าไปสู่ทางเลือกใหม่ อาจเรียกได้ว่าเป็นการแพทย์
อาการเจ็บป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตอาทิผู้ป่วยมะเร็งระยะ ทางจิตวิญญาณ อีกทั้งยังเป็นการรักษาวัฒนธรรมที่งดงามของ
สุดท้าย กลับมาพักที่บ้าน ก็จะพยุงใจให้สงบได้ด้วยพิธีกรรม ชาติพันธุ์ไว้อีกด้วย
เหยาที่ให้ความอบอุ่นและก�าลังใจ
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 55