Page 55 - E-Book Culture 02_20182
P. 55
แต่ทุกวันนี้แม้ประเพณีเหยาจะยังคงอยู่ แต่ก็มีการ
ปรับเปลี่ยนไปมากตามสภาพสังคม เนื่องจากการแสวงหาผู้ที่
สืบทอดเหยาจากสายเลือดที่เหมาะสมกลับเป็นสิ่งที่ยากยิ่ง
คงเหลือแต่หมอเหยาที่เป็นผู้อาวุโสของชุมชนซึ่งพยายาม
จะรักษาประเพณีแต่โบราณไว้ ไม่ต่างจากพิธีกรรมอื่นๆ ที่ถูก
ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ กลายกลืนไป
พิธีกรรมส่วนใหญ่ของกลุ่มชาติพันธุ์มักจะมีบทเพลง ดนตรี
เสียงขับล�าน�า และการร่ายร�าเข้ามาเกี่ยวข้อง การเหยาก็เช่นกัน
ที่ต้องอาศัยการสื่อสารด้วยเสียงเพลง การขับล�าน�า และเสียง
ดนตรี การเหยานี้มีแคนเป็นเครื่องดนตรีส�าคัญประกอบการร้อง
กลอนล�า ในการติดต่อสื่อสารระหว่างหมอเหยากับผีหรือ หมอเหยาท�าการรักษาผู้ป่วยด้วยประการต่างๆ เช่น ผูกแขน และรับขวัญ
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ กระบวนการเหล่านี้เองที่เรียกว่าการเหยา ซึ่งมี
ขั้นตอนรายละเอียดมากมาย อีกทั้งการเหยายังมีหลายรูปแบบ ขั้นตอนการเหยาเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วบ เริ่มจากจัด
เหยา มาจากความเชื่อว่าการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นนั้น เครื่องคายและตั้งเครื่องคายส�าหรับพิธีการเหยาแล้วน�ามาวาง
เกิดจากการกระท�าของผีหรือวิญญาณ จึงต้องมีการเสี่ยงทาย ต่อหน้าหมอเหยา เตรียมเครื่องแต่งกายของหมอเหยาและ
จากหมอเหยา ท�าพิธีคุมผีออก ด้วยการร่ายร�าประกอบ หมอแคน การบูชาครูและล�าเชิญผีลง เพื่อให้ผีมาเข้าทรงถาม
เสียงแคน นอกจากนั้นยังมีการเหยาเพื่อให้ขวัญและก�าลังใจ อาการเจ็บป่วยจากผี เมื่อผีเข้าทรงแล้วก็จะมีการแต่งกายของ
เหยาต่ออายุ เหยาเพื่อชีวิต เหยาแก้บน เพื่อความเป็นสิริมงคล หมอเหยา แล้วท�าการเหยาไปตามท�านองของเสียงแคนประกอบ
แก่ชีวิต ครอบครัวญาติพี่น้อง วงศ์ตระกูล ในช่วงเทศกาล การร่ายร�า
งานส�าคัญๆ ของหมู่บ้านและชุมชน หรือกระทั่งฤดูกาลท�าการ ล�าเหยาโต้ตอบกันระหว่างผีและหมอเหยาเพื่อถามผีว่า
เกษตรกรรมก็ยังมีพิธีเหยาเพื่อให้ได้ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ ต้องการอะไร จะแก้ไขอาการเจ็บป่วยได้อย่างไรจะใช้
เหยาเลี้ยงผี เพื่อขอบคุณผีบรรพบุรุษในรอบปี พิธีเช่นนี้ เครื่องเซ่นสรวงอะไรบ้าง โดยให้ญาติผู้ป่วยเป็นล่ามติดตามกับ
จะกระท�าเพียงปีละครั้งเท่านั้นในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือน หมอเหยา เพื่อถามถึงสาเหตุและอาการเจ็บป่วยดังนี้
มิถุนายน เพื่อขอขมาและสักการะผีที่ช่วยปกป้องคุ้มครองชุมชน หมอเหยาตรวจดูความเรียบร้อย ความถูกต้องของ
ให้ปกติสุขไม่เกิดภัยพิบัติหรืออันตรายแก่ผู้คนในชุมชน เครื่องคายที่ใช้ในการบูชาเครื่องเซ่นไหว้ หมอแคนเริ่มเป่าแคน
ยังมีการเหยาในงานบุญประจ�าปี บุญผะเหวด โดยมีการ ให้จังหวะประกอบการเหยา หมอเหยาล�า (กลอนล�า) ร่ายกลอน
เหยาปีละครั้งติดต่อกันทุกๆ ปี พอครบสามปีจะเว้นช่วงของ เชิญผีมาถามสาเหตุของการเจ็บป่วย ญาติผู้ป่วยมอบสุราขาว
การประกอบพิธีเหยาในงานบุญประจ�าปีนี้ไปหนึ่งปี แล้วจึงกลับ ให้หมอเหยาประมาณครึ่งขวด หมอเหยาจะต้องดื่มเหล้า
มาท�าพิธีกรรมอีกครั้งเวียนแบบนี้ไปเรื่อยๆ ประมาณหนึ่งจอก หมอแคนดื่มหนึ่งจอก
การประกอบพิธีกรรมเหยา จะงดเว้นไม่ท�าในวันพระข้างขึ้น
และข้างแรม ๘ ค�่า กับ ๑๕ ค�่า จะประกอบพิธีการเหยาเฉพาะ เสี่ยงทายวิงวอน
เวลาพลบค�่าหรือเวลาเย็นเป็นต้นไป ไม่นิยมกระท�าพิธีใน หากแต่การเชิญผีมาถามถึงสาเหตุความโกรธแค้น เพื่อให้
ช่วงบ่าย เพราะชาวผู้ไทมีความเชื่อว่าช่วงเวลาบ่ายเป็นเวลาใน ผีไม่ท�าร้ายผู้ป่วย ก็ไม่ใช่การเอ่ยปากถามกันตรงๆ หมอเหยา
การเคลื่อนศพไปป่าช้า ไม่มีความเป็นสิริมงคล สถานที่ในการ จะมีวิธีการถามผีด้วยการเสี่ยงทาย โดยใช้เครื่องประกอบ
ประกอบพิธีการเหยารักษาคนป่วยจะใช้บ้านของผู้ป่วย พิธีกรรมบางอย่างเช่น ไข่ และข้าวสาร โดยการเอาข้าวสาร
ในการท�าพิธี หรือถ้าเป็นการประกอบพิธีเหยาประจ�าปีของ โรยลงไปในไข่แล้วนับจ�านวนเม็ดข้าวสาร ถ้ามีข้าวสารติดอยู่
ชุมชนก็จะใช้สถานที่ที่เป็นศูนย์กลางของชุมชน บนไข่จ�านวนคี่แสดงว่าผู้ป่วยจะหายป่วย ถ้าข้าวสารติดอยู่
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 53