Page 28 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 28

๑                                                      ๒





          แม่น�้าน่านไปด้วย และนี่คือท่วงท�านองที่คนทั่วไปรู้จักกันในนาม    ว่าพลางพ่อครูก็หยิบปินประจ�าตัวขึ้นมาบรรเลง พร้อมกับ
          “ซอล่องน่าน” หมายถึงการล่องแพมาตามแม่น�้าน่านในการอพยพ กล่าวว่า ไม่เคยเบื่อที่จะดีดปินเลยสักครั้ง ตลอดระยะเวลาตั้งแต่
          ครั้งนั้นนั่นเอง พ่อครูอรุณศิลป์สันนิษฐานว่า วงสะล้อ ซอ ปิน ก็น่าจะ  เด็กล่วงเข้าวัยชรา ปินคือเพื่อนคลายทุกข์ ยามได้ดีดปินเล่นอยู่
          มีต้นก�าเนิดจากแพล�าที่ ๗ ของปู่ค�ามาและย่าค�าบี้เช่นกัน  กับบ้าน คือช่วงเวลาแห่งความสุขใจที่สุด
               กาลเวลาผันผ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปี ๒ ปีมานี้ พ่อครู   เมื่อถามถึงเพลงที่ใช้ขับซอ พ่อครูบอกว่ามีประมาณ ๒๔ เพลง
          รู้สึกได้ว่าความนิยมในการจ้างคณะซอลดน้อยถอยลงมากนัก   เช่น เพลงไทลื้อ เพลงฤาษีหลงถ�้า เพลงพระลอเดินดง เพลงกล่อม
          แปรเปลี่ยนไปเป็นการจ้างวงดนตรีที่อวดความหวือหวาของนักร้อง  นางนอน เพลงเจ้าสุวัติ-นางบัวค�า เพลงปั่นฝ้าย ฯลฯ โดยเฉพาะ
          จากยุคเฟื่องฟูของคณะซอที่ต้องรอนแรมออกไปแสดงนานนับเดือน เพลงปั่นฝ้ายนั้น คนดูจะชื่นชอบเป็นพิเศษ เพราะทางคณะจะแสดง
          โดยไม่ได้กลับบ้าน อาศัยนอนตามวัด หรือไม่ก็บ้านเจ้าภาพ ทุกวันนี้  ท่าทางประกอบด้วย ท�าให้ไม่รู้สึกเบื่อ และที่สะกดผู้ชมอีกอย่างหนึ่ง
          เดือนหนึ่งมีงานแค่ราว ๆ ๑๐ งานเท่านั้น โดยงานจะชุกช่วงเดือน ก็คือ ช่วงที่มีการฟ้อนแง้น และนี่คือเหตุผลว่าท�าไมคณะซอแต่ละคณะ
          มกราคม-มิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงก่อนเข้าพรรษา ช่วงนี้แต่ละคณะ  จึงต้องมีผู้หญิง ซึ่งนอกจากจะท�าหน้าที่ขับซอแล้ว ก็ต้องมีช่างฟ้อน
          จะรับงานบวชเป็นส่วนใหญ่ ครั้นออกพรรษาก็จะเป็นงานกฐิน   สาว ๆ รูปร่างหน้าตาชวนมอง เป็นสีสันให้คณะซอได้อย่างดี
          งานผ้าป่า สนนราคาก็ว่ากันไปลดหลั่นตามระยะทาง งานในพื้นที่  แม่ครูยิ้มขณะพ่อครูอธิบายค�าว่า ฟ้อนแง้น ค�าว่า “แง้น”

          เขตตัวเมืองน่าน ราคาประมาณ ๓,๐๐๐ บาท ต่างอ�าเภอคิดราคา หมายถึง แหงน หรือหงาย ฟ้อนแง้นก็คือการฟ้อนในท่าสะพานโค้ง
          ประมาณ ๔,๐๐๐ บาท แต่ถ้าต่างจังหวัดส่วนใหญ่พ่อครูขอปฏิเสธ  ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝน คณะซอทุกคณะจะต้องมีช่างฟ้อนที่
          เนื่องจากอายุอานามที่มากขึ้น ท�าให้ไม่สะดวกในการเดินทาง  ฟ้อนแง้นได้ เพราะคนดูจะชอบ ทั้งนี้เจ้าภาพหรือคนดูจะน�าเงิน
          เหมือนแต่ก่อน                                       (ธนบัตร) วางไว้ให้ช่างฟ้อนฟ้อนแง้น เมื่อหงายจนศีรษะจดพื้น
               นอกเหนือจากงานแสดง พ่อครูยังมีหน้าที่สอนการเล่นสะล้อ ช่างฟ้อนจะใช้ปากคาบเงินขึ้นมา ถือว่าเป็นสินน�้าใจ
          และปินให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านซาวหลวงทุกวันพฤหัสบดี โดย   ว่างเว้นจากงานแสดงมาสักระยะหนึ่งแล้ว พรุ่งนี้คณะซอ
          พ่อครูคิดรูปแบบตัวโน้ตเพลงเป็นระบบตัวเลข เพื่อให้เด็ก ๆ เข้าใจ  อรุณศิลป์ได้รับการว่าจ้างให้ไปแสดงในงานบวชที่บ้านเด่น ซึ่งอยู่
          ได้ง่ายขึ้น ทั้งยังบอกด้วยว่า ปินนั้นหากตั้งใจฝึกจริง ๆ วันหนึ่งอาจ  ไม่ไกลเท่าไร แม่ครูจะเตรียมซิ่นลายน�้าไหลผืนสวยไว้สวมใส่ ส่วน
          เล่นได้ถึง ๒ เพลงเลยทีเดียว นอกจากนี้หากช่วงไหนไม่มีงานแสดง  พ่อครูชอบชุดพื้นเมืองอยู่แล้ว ด้านนักดนตรีกับช่างฟ้อนสาว ก็เป็น
          ก็จะท�าสะล้อและปินเพื่อขายเป็นอาชีพเสริม โดยอาศัยประสบการณ์ ที่รู้กันว่าจะต้องสวมใส่ผ้าซิ่นและผ้าพื้นเมืองน่านด้วยเช่นกัน พรุ่งนี้
          ในการฟังแล้วเทียบเสียง ซึ่งไม่เคยผิดเพี้ยน ปินจากไม้ประดู่พ่อครู  คณะซออรุณศิลป์ ซึ่งประกอบไปด้วยทีมงาน ๖ คน จะไปเจอกัน
          ว่าดีที่สุด เพราะให้เสียงหนักแน่น                   ที่บ้านเด่นแต่เช้า



          26
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33