Page 18 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 18
ของคนน�้าเชี่ยวด้วย กาลเวลาผ่านมากว่าร้อยปีทุกวันนี้ “มัสยิด
บานน�้าเชี่ยว อัลกุบรอ” ที่ตั้งอยู่ริมคลองน�้าเชี่ยว ยังคงเป็นศูนย์รวมใจของ
เที่ยวเพลิน ๆ ชาวบ้านเช่นในอดีต
คนบ้านน�้าเชี่ยวนอกจากประกอบอาชีพประมงชายฝั่งแล้ว
งานหัตถกรรมท�างอบก็เป็นภูมิปัญญาจากอดีตที่ยังสืบทอดมาถึง
หากเอ่ยถึงภาคตะวันออก แทบทุกคนมักคิดถึงหาดทราย ปัจจุบัน งอบจากบ้านน�้าเชี่ยวได้ชื่อว่าดีที่สุดแห่งหนึ่งในเมืองไทย
และชายทะเล แต่การท่องเที่ยวชุมชนในภูมิภาคนี้โดดเด่นไม่แพ้ ทั้งความคงทนและรูปแบบที่หลากหลาย ปัจจุบันกลายเป็นของ
ที่อื่น ๆ โดยเฉพาะที่จังหวัดสุดชายแดนบูรพาอย่างจังหวัดตราด ที่ระลึกที่ใครมาเที่ยวก็อดซื้อติดมือกลับไปไม่ได้
ซึ่งเป็นที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มีชื่อเสียงที่สุด นั่นคือ มาเที่ยวบ้านน�้าเชี่ยว นอกจากได้ชมวิถีชุมชนมุสลิมแล้ว
บ้านน�้าเชี่ยว อ�าเภอแหลมงอบ เขายังมีกิจกรรมสัมผัสธรรมชาติให้ลิ้มลอง อย่างการล่องเรือชม
บ้านน�้าเชี่ยว เป็นชุมชนชาวมุสลิมที่อพยพมาอยู่ที่นี่ยาวนาน ธรรมชาติป่าชายเลน และตกปลาชายฝั่ง หากมีเวลามากพอก็อาจ
กว่าร้อยปีแล้ว บรรพบุรุษของชาวบ้านน�้าเชี่ยว เป็นชาวจามซึ่ง ออกเรือไปไดหมึกตกปลา หรือด�าน�้าดูปะการังก็ย่อมได้
อาศัยอยู่ในบริเวณที่เป็นประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน ในสมัยรัชกาล
ที่ ๓ เกิดสงครามระหว่างสยามกับอาณาจักรเวียดนาม ซึ่งเรียกว่า บ้านน�้าเชี่ยว ตั้งอยู่ต�าบลน�้าเชี่ยว อ�าเภอแหลมงอบ
สงคราม “อันนัมสยามยุทธ” การสู้รบในดินแดนกัมพูชาปัจจุบัน จังหวัดตราด อยู่ใกล้ย่านตัวเมืองตราด ไปตามทางหลวง
ชาวบ้านในพื้นที่สู้รบจึงอพยพหนีภัยเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร หมายเลข ๓๑๔๘ ระยะทางประมาณ ๘ กิโลเมตร
ยังแผ่นดินสยามเป็นจ�านวนมาก รวมทั้งชาวจามผู้เป็นบรรพบุรุษ
16