Page 84 - Culture3-2017
P. 84
ตัวอย่างผลงานจากปลายปากกาของ สุวัฒน์ วรดิลก
ก้าวแรกสู่โลกนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ หรือเสียดสีสังคม เช่น “เทพเจ้า” “อีเงาะ” “ผีเข้าอีจง” เรื่องอิง
ระหว่างเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และ พงศาวดาร เช่น “ค�าให้การ” “ในกระแสแห่งยุติธรรม” เรื่องกระตุ้น
การเมือง ใน พ.ศ. ๒๔๘๕ ได้เริ่มท�างานเป็นข้าราชการวิสามัญ และปลุกจิตส�านึกทางจริยธรรมและมนุษยธรรม เช่น “มวยแถม”
ต�าแหน่งผู้คุมตรี ที่กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย ๑ ปี เสมียน และ “คนข้างหลืบ” เป็นต้น
การเงิน ที่กรมบัญชีกลางทหารเรือ ๑ ปี แล้วกลับมาสอบได้เป็น สุวัฒน์เป็นนักข่าวประจ�าโรงพักให้หนังสือพิมพ์เอกราชได้
เสมียนพนักงานของกรมราชทัณฑ์อีกครั้ง ช่วงนี้เองใน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครึ่งปี อิศรา อมันตกุล เห็นว่าไม่เหมาะกับหน้าที่นี้จึงได้เปลี่ยนให้
มีโอกาสได้เริ่มท�างานเป็นนักข่าวที่หนังสือพิมพ์เอกราช ของ เขียนเรื่องในเล่ม เรื่องสั้นที่เป็นที่รู้จักกันดีก็คือ “ท่องไปในแดน
อิศรา อมันตกุล ต่อมาจึงลาออกจากราชการด้วยความปรารถนา รัฐประหาร” (พ.ศ. ๒๔๙๐) ซึ่งเขียนก่อนเกิดการรัฐประหาร พ.ศ.
ที่จะเป็นนักอักษรศาสตร์ ๒๔๙๐ ต่อมาได้รับอนุญาตให้เขียนนวนิยายประจ�าฉบับ เรื่องแรก
สุวัฒน์เริ่มเขียนเรื่องสั้นเรื่องแรกชื่อ “ตราบใดสุรีย์ส่องโลก” คือ “สัญญารักของจอมพล” เป็นเรื่องสั้นขนาดยาว ในระยะนี้เอง
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๖ ใช้นามปากกา ส.วรดิลก ตีพิมพ์ในข่าวภาพ เกิดล้มป่วยด้วยวัณโรคที่ขั้วปอดอย่างรุนแรง เมื่อหายป่วยแล้ว
รายสัปดาห์ แต่ไม่ประสบผลส�าเร็จ และไม่ปรากฏผลงานเขียน หนังสือพิมพ์เอกราชถูกสั่งปิด ชีวิตนักหนังสือพิมพ์จึงสิ้นสุดลง
ออกมาอีก ต่อมาเมื่อ วิตต์ สุทธเสถียร ออกหนังสือพิมพ์ชาติไทย ต่อมาสุวัฒน์ได้ฝากตัวกับ กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา)
วันอาทิตย์ คู่กับชาติไทยรายวัน ใน พ.ศ. ๒๔๘๘ มีนโยบายสนับสนุน บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ประชามิตร-สุภาพบุรุษ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์
นักเขียนใหม่ สุวัฒน์จึงมีโอกาสเขียนเรื่องสั้นอีกครั้ง โดยคราวนี้ รายสัปดาห์ระดับคุณภาพมาตรฐานของยุคนั้น โดยส่งเรื่องสั้น
เขียนเรื่องสั้นชื่อ “เงามะพร้าวที่นาชะอัง” ซึ่งได้รับความสนใจจาก เกือบ ๑๐ เรื่องให้พิจารณา แต่ได้รับการตีพิมพ์เพียงเรื่องเดียว คือ
ผู้อ่านจนท�าให้เขียนเรื่องต่อมาได้อีกมาก ทั้งเรื่องรัก เช่น “ไออุ่นจาก “เขาและหล่อนอยู่กันคนละซีกโลก” หลังจากนั้นจึงมีผลงาน
ทรวงนาง” “ระอารัก” “ภูษิตเรียกเมียด้วยเสียงซอ” เรื่องวิจารณ์ ได้รับการตีพิมพ์อีกเรื่องคือ “ทุ่งทานตะวัน”
82