Page 31 - Culture3-2017
P. 31

๒                                  ๓                                   ๔






                  หัวโขน เป็นงานศิลปะชั้นสูงที่ใช้ส�าหรับ ท�าให้สันนิษฐานได้ว่าการท�าหัวโขนของไทยน่าจะ   ภาพ ๑ หัวโขนทศกัณฐ์
            สวมครอบศีรษะ ปิดบังส่วนหน้าของนักแสดงโขน เริ่มต้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก   เมื่อยามผสานกับบทบาท
                                                                                                  ของนาฏยศิลปิน
            อย่างมิดชิด ถูกรังสรรค์ขึ้นด้วยความประณีตเช่นเดียว และเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในสมัยพระบาทสมเด็จ-  ภาพ ๒ หัวโขนพาลี พญาลิง
            กับชุดโขนหรือเครื่องแต่งกายโบราณอื่น ๆ ตามแบบ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว อันถือเป็นยุคทองของ  เจ้าเมืองขีดขิน กายและ
            ของช่างไทย มีลักษณะคล้ายหน้ากาก ทว่าแตกต่าง วรรณกรรมและนาฏศิลป์ไทย                    ใบหน้าเป็นสีเขียว ด้วยเป็น
                                                                                                  โอรสแห่งพระอินทร์กับ
            ตรงที่สร้างจ�าลองรูปใบหน้าและส่วนศีรษะทั้งหมด   กระบวนการและแบบแผนของช่างท�าหัวโขน    นางกาลอัจนา
            เจาะรูตรงนัยน์ตาให้ตรงกับผู้สวมใส่ ลงสี เขียนลาย  เริ่มจากการเตรียมหุ่นและแม่แบบ สมัยโบราณมักใช้   ภาพ ๓ หัวมงกุฎและหัวชฎา
            ประดับประดาให้สื่อถึงตัวละครต่าง ๆ โดยเชื่อมร้อย ดินเหนียวเพื่อปั้นขึ้นรูป ปั้นใบหน้าหุ่น ช่างจะปั้น  ของตัวพระและตัวนาง
                                                                                                  มักขึ้นรูปเป็นทรงกระบอก
            อยู่กับวรรณกรรมของแดนดินตะวันออกที่สืบทอดมา ดินเหนียวและเผาไฟให้สุก ใช้ไม้กลึงโกลนขึ้นรูป    ด้านบนท�าเป็นจอมไว้สวม

            แต่โบราณอย่างรามเกียรติ์ แบ่งเป็นหัวโขนตัวพระ   ในปัจจุบันอาจใช้การท�าหุ่นต้นแบบด้วยปูนปลาสเตอร์  ยอดทรงต่าง ๆ
                                                                                                  ภาพ ๔ เศียรพระศุกร์
            ตัวยักษ์ ตัวเทวดา ตัววานรและสัตว์อื่น ๆ ที่ทั้งหมด หรือปูนซีเมนต์แทน เมื่อได้รูปหุ่นต่าง ๆ ตามต้องการ   เทพประจ�าวันที่มีใบหน้า
            ล้วนสร้างขึ้นด้วยเชิงช่างโบราณตามเอกลักษณ์ที่  ช่างจะเริ่มปิดหุ่นโดยใช้กระดาษสา กระดาษข่อย    เป็นสีเลื่อมประภัสสร
            ถูกต้องและสมบูรณ์ของศิลปะไทย              ปิดทับกันหลายชั้นให้หนาจนเป็นรูปร่างหุ่นตัวที่
                  ส�าหรับช่างท�าหัวโขน พวกเขาสืบทอดงาน  ต้องการ จากนั้นจึงบรรจงใช้มีดปลายแหลมกรีด
            ช่างโบราณแขนงนี้มาตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ตกทอด  เปิดหัวหุ่นแล้วถอดแบบที่พอกกระดาษนั้นออกจาก
            กันมาในลักษณะครูสอนศิษย์ก่อนจะเป็นแบบแผน  แบบที่ขึ้นรูป หัวโขนที่เริ่มเป็นรูปเป็นร่างเรียกกันว่า
            ในสถาบันศิลปะไทยต่าง ๆ เช่นในปัจจุบัน มีการค้นพบ  กะโหลก ขั้นตอนต่อจากนี้เองที่ทักษะการปั้นของ
            หัวโขนพระครูและหัวโขนทศกัณฐ์ในพระคลังหลวง  ช่างท�าหัวโขนจะเพิ่มเติมลงเป็นส่วนคิ้ว ตา จมูก ปาก
            ของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ *  จนเด่นชัดเห็นว่าเป็นตัวพระ ยักษ์ หรือตัวละคร


            * จาก สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ดู http://research.pbru.ac.th/web/index.
            php?option=com_content&view=article&id=260&Itemid=188)

                                                                                           กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    29
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36