Page 32 - Culture3-2017
P. 32

๑                                                                 ๓









                                                                          ๔






                                                                        ประดับกระจกสีถูกรังสรรค์ขึ้นในขั้นตอนต่อมา ทองค�า
                                                                        เปลว กระจก หรือพลอยอันเต็มไปด้วยแวววามและ
                                                                        งดงามถูกติดประดับในตัวรักตีลาย เมื่อประกอบกัน
        ๒                                                               ขึ้นแล้ว ทักษะงานจากมือนับเป็นขั้นตอนแห่งความงาม

                                                                        ล�าดับท้าย ๆ ที่ช่างท�าหัวโขนจะใช้ความประณีตอย่างที่สุด
                                                                        พวกเขาถี่ถ้วนในการลงสีและเขียนลายส่วนละเอียดลง

          ภาพ ๑ ช่างปั้นบรรจง   ประเภทไหน ว่ากันว่าช่างท�าหัวโขนเก่ง ๆ มักปั้นให้  บนใบหน้าตัวละครแต่ละตัว ลายไทย ลายกระหนก ที่
          เก็บรายละเอียดบนใบหน้า  หุ่นโขนแสดงอารมณ์ทางใบหน้าตามแต่ประเภท  ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษถูกวาดเป็นเส้นสาย แต่เดิม
          ของเศียรพ่อแก่จนชัดเจน
          ภาพ ๒ ช่างเขียนลาย  ในขั้นตอนนี้ ส�าหรับหุ่นตัวนางที่มีหัวชฎาหรือมงกุฎ  ช่างท�าหัวโขนนิยมใช้สีฝุ่นผสมกาวกระถิน หรือมะขวิด
          หัวโขนเลือกใช้โทนสีแบบ  ช่างท�าหัวโขนจะขึ้นรูปเป็นทรงกระบอกด้านบน ที่ให้คุณสมบัติสดใส ขาวนวล สีแต่ละโทนเต็มไปด้วย
          โบราณในการลงสีหัวโขน  กะโหลกเป็นชั้น ๆ เป็นจอมส�าหรับสวมยอดมงกุฎ  แบบแผนอันเกี่ยวเนื่องกับชาติเชื้อเผ่าพงศ์ของตัว
          แต่ละตัว
          ภาพ ๓-๔ การท�า “รักตีลาย”    ต่าง ๆ เช่น ยอดชัย ยอดบัด ยอดทรงน�้าเต้า    ละครโขนแต่ละตัว เป็นงานประเพณีนิยมที่ช่างท�า
          ช่างท�าลายประดับหัวโขน    ความละเอียดในเชิงช่างของช่างท�าหัวโขน  หัวโขนแต่ละส�านักล้วนจดจ�าได้ขึ้นใจ
          จะเตรียมตัวรัก น�้าเกลี้ยงชัน   แยกย่อยไปสู่การท�าลวดลายประดับหัวโขน ตัวลาย  หัวโขนที่รังสรรค์ขึ้นถูกจ�าแนกประเภทไว้
          ผสมเข้ากันและน�าไปถอด
          แบบในแม่พิมพ์ จากนั้น   ต่าง ๆ ที่น�ามาติดประดับ ช่างจะน�าตัวรัก น�้าเกลี้ยงชัน  คร่าว ๆ ตามลักษณะของตัวละคร เกี่ยวโยงอยู่กับ
          จึงน�าไปตกแต่งหัวโขน  มาผสมเคล้าให้เข้ากัน ตั้งไฟอ่อนและเคี่ยวจนงวด  คติทางวรรณกรรมและความเชื่อในเรื่องเทพปรกณัม
          ภาพ ๕ หัวหนุมานที่วาง
          อยู่บน “ทวน” ไม้หลักแท่น   ก่อนน�าลงไปกดในแม่พิมพ์ เช่น ลายกระจัง เรียก  ของโลกตะวันออก อย่างพงศ์พระนารายณ์ พงศ์กษัตริย์
          ที่เกลาจนกลม ส�าหรับเก็บ  ชิ้นส่วนลายนี้ว่า “รักตีลาย”        แห่งอโยธยา พรหมพงศ์ หรืออสูรพงศ์ ทวยเทพต่าง ๆ
          รักษาหรือวางหัวโขนไว้     งานท�าหัวโขนผสมผสานรวมงานช่างโบราณ  อย่างพระพรหม พระอิศวร พระนารายณ์ เทวดา ฤษี
          จัดแสดง
                              หลากแขนงไว้ในหัตถศิลป์อันงามสง่า การลงรัก ปิดทอง   รวมไปถึงตัวละครต่าง ๆ ในวรรณคดีรามเกียรต์ เช่น



          30
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37