Page 22 - Culture3-2017
P. 22

๑




          มนต์เสน่ห์เสียงแคน                                          ตามหลักสากล แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า

               แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีความพิเศษทั้งรูปทรง วัสดุที่ใช้   จัดอยู่ในกลุ่มเครื่องลม (Wind Instrument) ชนิดที่มีลิ้นเสียง
          และลักษณะของเสียง ถ้าดูจากภายนอก ตัวแคนหรือที่เรียกว่า    อิสระ เสียงแคนเกิดจากการเป่า และการดูดกระแสลมผ่าน
                                                                                           ๑
          กู่แคน ท�าจากไม้ไผ่น้อย หรือไม้อ้อ (ซึ่งหายากแล้วปัจจุบันใช้   ลิ้นโลหะที่ฝังอยู่ในรูบากข้างล�าท่อ  และใช้นิ้วมือทั้งสองข้าง
          ไม้เหี้ยน้อยแทน) ขนาดเท่านิ้วมือมาเป็นลูกแคน ยาวลดหลั่นกัน   ปิดเปิดรูนับเพื่อควบคุมระดับเสียง
          ตามล�าดับ ถ้าเป็นแคนน้อย (ยาวหนึ่งศอกหนึ่งคืบ ยาวสองศอก และ  แม้จะมีลิ้นโลหะแต่เสียงก็มีความนุ่มนวลจากวัสดุ
          ยาวสองศอกหนึ่งคืบ) และแคนใหญ่ (ยาวสามศอก ยาวสามศอก     ก�าทอนเสียงที่เป็นไม้ อีกทั้งเสียงเป่าที่ออกมาเป็นเสียงคู่ท�าให้
          หนึ่งคืบ สี่ศอก และสี่ศอกหนึ่งคืบ) บ้างก็เคยพบที่ยาวถึงหกศอก ถ้ามี   เสียงแคนมีมิติมากขึ้น ยิ่งต้นก�าเนิดของเสียงมาจากลมหายใจ
          ลูกแคน ๗ คู่ ก็เรียก แคนเจ็ด ๘ คู่ ก็เรียก แคนแปด กู่แคนจะประกอบ   ของผู้เป่าด้วยแล้ว ยิ่งท�าให้ทุกตัวโน้ต ทุกท่วงท�านองเสมือนมีชีวิต
          เข้ากับเต้าแคนซึ่งเป็นส่วนส�าหรับเป่า ท�าจากไม้ตะเคียน ไม้ประดู่  มีจิตวิญญาณ นี่คือมนต์เสน่ห์ของเครื่องเป่าที่เรียกว่าแคน
          หรือไม้น�้าเกลี้ยง แล้วใช้ขี้ผึ้งหรือชันโรงผนึกติดกันและปิดทั้ง

          ข้างบนและข้างล่างเต้าเพื่อไม่ให้ลมรั่วออก แล้วยังมีลิ้นแคน รูแพว    ลายแคนบอกเล่าชีวิต สะท้อนจิตวิญญาณ
          และรูนับเสียง ข้างในของแต่ละล�าลูกแคนประกอบด้วยลิ้นแคนหนึ่งอัน    แคนเป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้านที่ชาวอีสานและคนสอง
          เท่ากับหนึ่งเสียง                                      ฝั่งโขงเล่นกันมาช้านาน พลบค�่าหลังเลิกงานไร่งานนา หนุ่ม ๆ
               ทองจันทร์ ศรไชย หมอแคนแห่งเมืองอุบล ผู้ที่เติบโต   ก็มักถือแคนไปเป่าเลาะบ้านสาว หรือบางบ้านก็นั่งพักผ่อน
          และอยู่กับแคนมากว่า ๗๐ ปี เล่าว่า “เวลาเป่าแคน ก็คือ การหายใจ  พูดคุยกัน และเล่นแคนไปด้วย ใครผ่านมาก็จะชวนมาร่วมวง
          ผ่านแคน ผู้ที่ฝึกใหม่จะต้องฝึกตั้งแต่การสูดหายใจเข้าและปล่อยลม  เล่นกันสนุกสนาน ท่วงท�านองของการบรรเลงเพลงแคนที่
          หายใจออกผ่านเต้าแคนให้เกิดเสียง และต้องฝึกท�าให้เป็นจังหวะ  เรียกกันว่า ลายแคน จึงมักเป็นการเลียนเสียงธรรมชาติ หรือ
          สม�่าเสมอ เมื่อท�าได้จึงค่อยฝึกเล่นเป็นเพลง เสียงแคนยังพิเศษมาก  สิ่งที่อยู่ในชีวิตประจ�าวัน วิถีเช่นนี้ท�าให้เสียงแคนกลายเป็น
          ตรงที่ตัวโน้ตตัวเดียว ถ้าเป่าจะออกเป็นเสียงคู่ หรือจะเลือกปิดรู   สายสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงคนอีสานกับบ้านเกิด
          ให้ออกเสียงเดี่ยวก็ได้”                                                                                   ๒


          ๑ สมบัติ ศรีสิงห์. “ดนตรีพื้นบ้านอีสาน...แคน.” ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://www.isan.clubs.chula.ac.th/dontri//
          index.php?transaction=kaen.php (สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๐).

          20
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27