Page 24 - Culture3-2017
P. 24

๑

          ภาพ ๑-๓ ปัจจุบันการแสดงแคนเล่นเป็นวง มีหมอแคนหลายคน และเล่นร่วมกับเครื่องคนตรีพื้นบ้านอื่น ๆ เช่น พิณ ซอ มีหมอล�า ล�ากลอน
          และบางครั้งก็มีผู้หญิงมาเซิ้งประกอบด้วย




               ลายแคนที่จัดเป็นลายครู มีจังหวะกระชับ ลีลา ท่วงท�านอง ให้ฟัง ส่วนลายล�าเต้ยจังหวะจะคึกคักมาก ลายล�ายาวจังหวะช้าไว้
          ไพเราะที่คนเป่าแคนทุกคนต้องเป่าลายนี้ให้ได้ก่อนจะก้าวไป  ใช้ในการไหว้ครู”
          ลายอื่น ๆ คือ ลายสุดสะแนน ค�าว่าสะแนน สันนิษฐานว่าเพี้ยน  แต่เดิมการเล่นแคนส่วนใหญ่จะเป่าแคนอย่างเดียว อาจ
                                                                                                        ๑
          มาจากค�าอีสานว่า “สายแนน” หมายถึง ต้นตอ หรือสายใย เช่น   ประกอบจังหวะด้วยการตบมือ หรือใช้กรับ กลอง ฉิ่ง ฉาบ  หรือเล่น
          เชื่อว่าคนที่เคยเกิดเป็นพ่อแม่ลูกกันในอดีต ชาตินี้ได้เกิดมาเป็นอีก   ร่วมกับการล�ากลอน โดยแคนจะเป็นเครื่องดนตรีที่ให้จังหวะแก่หมอล�า
          ก็จะเรียกว่าคนเกิดตามสาย “แนน” จึงว่าใครได้ฟังลายนี้แล้ว มักจะ หรือผู้ที่ขับร้องกลอนนั้น ปัจจุบันนี้แคนมาเล่นผสมกับเครื่องดนตรี

          คิดถึงบ้านเกิด คิดถึงพ่อแม่พี่น้อง อีสานว่า “เกิดความออนซอนขึ้นมา  พื้นเมืองอื่น ๆ เช่น พิณ ซอ โหวด หรือโปงลาง หรือเล่นร่วม
          อย่างที่สุด” นั่นเพราะคิดหวนสายแนนหรือสายใยของเขานั่นเอง  เครื่องดนตรีสากลอย่างกลอง กีตาร์ไฟฟ้าในวงดนตรี เช่น ล�าซิ่ง ได้ด้วย
               ลายแคนมีมากมาย แบ่งเป็นกลุ่มลายแคนทางสั้นที่จังหวะเร็ว
          แสดงถึงอารมณ์สนุกสนานรื่นเริง และกลุ่มลายแคนทางยาว   เรื่องเล่าปรัมปราว่าด้วยแคน

          จังหวะช้าแสดงอารมณ์เศร้าและเหงา ครูทองจันทร์เล่าว่า “ลายแคน   “เฮ็ดจั่งได๋นอ จั่งสิได้ฟังเสียงอันไพเราะ ม่วนชื่นจับใจ
          ส่วนใหญ่ใช้เสียงธรรมชาติมาเป็นต้นแบบในการเล่น เช่น ลมพัด อย่างนี้ตลอดไป ครั้นสิคอยเฝ้า ฟังเสียงนกในถิ่นของมัน ก็เป็น
          พร้าว ลมพัดไผ่ หรือวัวขึ้นภู ก็เป็นเสียงกระดึงที่คอวัวเวลาเดินดัง  แดนดงแสนกันดาร อาหารก็หายาก หมากไม้ก็บ่มี เฮาสิต้องคิดท�า
          กึงกัง กึงกัง ลายสาวหยิกแม่ ก็มีที่มาจากเวลาตกเย็น สาว ๆ ลงข่วง   เครื่องบังเกิดเสียง ให้มีเสียงเสนาะ ไพเราะออนซอนจับใจดุจดัง
          (เข็นฝ้าย) ผู้บ่าวเป่าแคนเลาะบ้าน เสียงเพราะ สาวจึงสะกิดแม่  เสียงนกกรวิกนี้ให้จงได้”


          ๑ วิรัช บุษยกุล และ ดร.ทองคูณ หงส์พันธุ์. (๒๕๕๔). ดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมืองอีสานเหนือ. ลักษณะไทย ศิลปะการแสดง. หน้า ๓๘๒.
          ๒ “ประวัติความเป็นมาของแคน” จากเว็บไซต์หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม ดู http://www.finearts.go.th/
          nakhonphanomlibrary/parameters/km/item/ประวัติความเป็นมาของแคน


          22
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29