Page 118 - Culture3-2017
P. 118
๑
ต่อมามีชาวมอญอพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีก ภายนอกพระอุโบสถมีซุ้มเสมา และเจดีย์ทรงมอญ ๗ องค์ สร้าง
ระลอกใหญ่ราว ๕,๐๐๐ ครอบครัว รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าเมือง เพื่อระลึกถึงเจ้าเมืองมอญทั้งเจ็ด
มอญทั้ง ๗ เลือกที่ท�ามาหากิน พวกเขาจึงน�าพาสมัครพรรคพวกล่องมา ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถพบว่าเขียนขึ้นตั้งแต่
ตามล�าน�้าแม่กลอง แล้วตั้งชุมชนในเขตอ�าเภอบ้านโป่งถึงโพธาราม สมัยกรุงศรีอยุธยา มีการบูรณะในสมัยรัชกาลที่ ๔ โดยช่างเขียน
เพราะเห็นว่าเหมาะแก่การเพาะปลูกและยังมีคนอยู่อาศัยน้อย ซ่อมทับลงบนภาพเดิมส่วนที่ช�ารุด คงภาพดั้งเดิมที่งามสมบูรณ์ไว้
ส�าหรับวัดคงคารามนั้นเป็นวัดเก่าแก่โบราณ สร้างในสมัย ดังนั้นจึงมีทั้งส่วนที่เป็นภาพโบราณตามแบบสมัยอยุธยา และภาพ
อยุธยา อายุไม่ต�่ากว่า ๒๐๐ ปี นักวิชาการบางท่านสันนิษฐานว่าวัดนี้ ตามแบบรัตนโกสินทร์ซึ่งได้รับอิทธิพลศิลปะตะวันตกอยู่บ้างตาม
มีอยู่ก่อนที่ชาวมอญจะเข้ามา ภายหลังเมื่อชาวมอญซึ่งเป็นกลุ่มชน สมัยนิยม
ที่ศรัทธาในพุทธศาสนาได้ตั้งชุมชนที่โพธาราม พวกเขาจึงร่วมกัน เนื้อเรื่องของจิตรกรรมแบ่งออกเป็น ผนังด้านหลังพระประธาน
ปฏิสังขรณ์วัดนี้ขึ้น เดิมเรียกชื่อเป็นภาษามอญว่า “เภี้ยโต้” หมายถึง เขียนเรื่องไตรภูมิ ภำพอดีตพุทธะอยู่ส่วนบนสุดของผนังแต่ละด้าน
วัดกลาง เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของ ภำพพุทธประวัติเป็นแนวเหนือบานหน้าต่าง และภำพทศชำติ
ชุมชนมอญในพื้นที่แถบนี้ ชำดกเขียนอยู่ระหว่างบานหน้าต่าง
วัดคงคารามเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ เนื่องจาก ภาพไตรภูมิซึ่งเป็นคติความเชื่อในสมัยอยุธยา ประกอบด้วย
ได้รับการอุปถัมภ์โดยเจ้าจอมมารดากลิ่น และทูลเกล้าฯ ถวายให้เป็น วิมานบนเขาพระสุเมรุ ทวีปทั้งสี่ คือ อุตรกุรุทวีป บุรพวิเทหทวีป
พระอารามหลวง ได้รับพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดคงคำรำม” อมรโคยานทวีป และชมพูทวีป เบื้องล่างคือบาดาลและนรก ในสีทันดร
พระอุโบสถวัดคงคารามตั้งอยู่ด้านหน้าวัด เป็นอาคารก่ออิฐ มหาสมุทรที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุเต็มไปด้วยปลาและเหล่าสัตว์
ถือปูน ขนาดกว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๗.๒๕ เมตร ประตูทุกบานเป็น หิมพานต์รูปร่างประหลาดพิสดาร ทั้งปลากะโห้ยักษ์สีแดง ปลาฉนาก
งานจ�าหลักไม้ฝีมือประณีต ส่วนบานหน้าต่างด้านนอกเป็นลายรดน�้า เงือก ปลาหัวเป็นช้าง ปลาหัวเป็นม้า ปลาหัวเป็นลิง ฯลฯ
116