Page 121 - Culture3-2017
P. 121

๒                                                    ๓





                  อีกภาพจากชุดทศชาติชาดกที่น่าสนใจคือ มโหสถชำดก อยู่บน   นอกจากภาพจิตรกรรมฝาผนังทรงคุณค่าแล้ว วัดคงคารามยังมี
            ผนังใกล้ประตูทางเข้าพระอุโบสถ ด้านขวาของพระประธาน เล่าเรื่อง กุฏิ ๙ ห้อง เป็นเรือนไทยฝาปะกนขนาดใหญ่สร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง ปัจจุบัน
            พระเจ้าจุลนีพรหมทัตยกทัพมหาศาลมาล้องกรุงมิถิลา แต่พระมโหสถ  จัดเป็นพิพิธภัณฑ์ของวัด เก็บรักษาและจัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ส�าคัญ
            บัณฑิตผู้มีปัญญาสามารถป้องกันไม่ให้ศัตรูบุกเข้ามาในเมืองได้  ในอดีต เช่น ตู้พระไตรปิฎกลายรดน�้า หีบมุก ภาพพระบฏ เครื่องลายคราม
                  ส่วนที่งามสะดุดตาคือภาพที่ข้าศึกจับนางสนมสองคนใส่ หุ่นไม้ขนาดเล็กรูปคนและสัตว์ที่เคยใช้แสดงในงานมหรสพ หนังสือคัมภีร์
            สาแหรกโยงกับเพดาน แล้วไกวสาแหรก มองเห็นฉากหลังสีแดงเข้ม โบราณจ�านวนมาก รวมทั้งโลงไม้โบราณของมอญที่เรียกว่า “ลุ้ง” อายุราว
            ตัดกับชุดของข้าศึกสีเขียว                            สองร้อยปี แกะสลักลวดลายดอกพุดตาน ลงรักปิดทองอย่างประณีต
                  นอกจากนี้จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม ยังมีภาพที่สะท้อน
            ถึงวีถีชีวิตของชุมชนอีกด้วย ตัวอย่างเช่นในภาพหนึ่งที่เห็นพ่อค้า   วัดคงคำรำม จังหวัดรำชบุรี จึงนับว่ำเป็นโบรำณสถำนที่
            ชาวจีนไว้ผมเปียพายเรือมาแวะจอดขายของให้คนที่ท่าน�้าหน้า ส�ำคัญของชำติ ซึ่งสะท้อนประวัติศำสตร์และเอกลักษณ์วัฒนธรรม
            เรือนไทยฝาปะกนใต้ถุนสูง ก็ตรงกับภาพชีวิตในอดีตของชุมชน  ท้องถิ่นได้อย่ำงน่ำภำคภูมิใจ และเป็นอีกหนึ่งหมุดหมำยส�ำหรับ
            ชาวมอญริมน�้าแม่กลองแถบอ�าเภอโพธาราม ที่มักจะมีพ่อค้าชาวจีน  ผู้ที่ชื่นชอบกำรชมภำพจิตรกรรมไม่ควรพลำด

            พายเรือเอาหอม กระเทียม พริก ปลาทูนึ่ง หรือก๋วยเตี๋ยวมาขาย
                  เมื่อชมภาพเรื่องราวหลักกันแล้ว ลองมองหา “ภำพกำก”

            กันบ้าง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความ   ที่ตั้งและกำรเดินทำง
            หมายไว้ว่า เป็นภาพเขียนที่เป็นตัวประกอบในเรื่อง ภาพประเภท  วัดคงคำรำม ตั้งอยู่ในอ�ำเภอโพธำรำม จังหวัดรำชบุรี
            นี้แม้จะไม่เกี่ยวข้องกับโครงเรื่องหลัก แต่ก็ดึงดูดความสนใจได้ไม่  จำกกรุงเทพฯ วิ่งเส้นเพชรเกษม มำทำงนครปฐม เข้ำรำชบุรี
            แพ้ภาพหลักเลยทีเดียว เพราะมักปรากฏอยู่ตามสุมทุมพุ่มไม้ ช่อง  แยกขวำเข้ำทำงหลวงหมำยเลข ๓๐๘๐ ก่อนข้ำมแม่น�้ำ
            หน้าต่าง ริมก�าแพงวัด หรือซุกซ่อนตามมุมต่าง ๆ ของเรื่องหลัก   แม่กลอง มีป้ำยบอกไปวัดคงคำรำม เลี้ยวขวำเข้ำมำ ๑.๕
            ถือเป็นลูกเล่นหรืออารมณ์ขันของช่างวาดที่สอดแทรกเอาไว้อย่าง  กิโลเมตร วัดคงคำรำมอยู่ทำงด้ำนซ้ำยมือ
            กลมกลืน เช่น ภาพทะลึ่งสัปดน ภาพเชิงสังวาสของคนและสัตว์ ภาพ  พระอุโบสถเปิดให้เข้ำชมทุกวัน เวลำ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.
            คนหน้าตาอัปลักษณ์ ภาพผู้คนอิริยาบถแปลก ๆ เป็นต้น ภาพกาก  ไม่มีค่ำเข้ำชม
            จึงเป็นส่วนเติมเต็มให้การชมภาพจิตรกรรมฝาผนังเกิดความสนุก   พิพิธภัณฑ์พื้นบ้ำนวัดคงคำรำม เปิดเสำร์-อำทิตย์ และ
            เพลิดเพลินยิ่งขึ้น                                      วันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลำ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ค่ำเข้ำชม ๑๐ บำท



                                                                                         กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    119
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126