Page 117 - Culture3-2017
P. 117
นิทัศน์วัฒนธรรม
กองบรรณำธิกำร เรื่อง
ยอด เนตรสุวรรณ ภาพ
ยลจิตรกรรมล�้ำค่ำ
ที่วัดคงคำรำม
แต่ละท้องถิ่นของเมืองไทยเต็มไปด้วยมรดกวัฒนธรรม
อันทรงคุณค่ำ ดังเช่นที่อ�ำเภอโพธำรำม จังหวัดรำชบุรี ซึ่งเป็น
ชุมชนมอญเก่ำแก่ ก็มีวัดคงคำรำม ซึ่งได้รับกำรขึ้นทะเบียนให้เป็น
โบรำณสถำนของชำติโดยกรมศิลปำกร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ เนื่องจำก
ภำพจิตรกรรมฝำผนังภำยในพระอุโบสถที่งดงำม จนผู้ที่ร�่ำเรียนหรือ
สนใจด้ำนจิตรกรรมไทยต้องดั้นด้นมำศึกษำ คัดลอกลำยอยู่เสมอ
อีกทั้งควำมสมบูรณ์แบบของกุฏิ ๙ ห้องซึ่งเป็นเรือนไทยหลังใหญ่
ปัจจุบันเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นของวัด เก็บรวบรวมและจัดแสดง
สิ่งของเครื่องใช้ในอดีตของชำวมอญที่น่ำสนใจมำกมำย
สองฝั่งล�ำน�้ำแม่กลองจำกอ�ำเภอโพธำรำมจดอ�ำเภอบ้ำนโป่ง
มีชุมชนชำวไทยเชื้อสำยมอญตั้งอยู่หนำแน่น ชำวบ้ำนเหล่ำนี้
สืบเชื้อสำยมำจำกบรรพบุรุษชำวมอญที่อพยพครัวหนีภัยสงครำม
จำกพม่ำเข้ำมำสู่สยำมในยุคกรุงธนบุรีต่อต้นกรุงรัตนโกสินทร์
พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช รัชกำลที่ ๑
โปรดเกล้ำฯ แต่งตั้งหัวหน้ำชำวมอญ ๗ คนจำกเมำะล�ำเลิงให้
ไปเป็นนำยด่ำนป้องกันพม่ำตำมหัวเมืองชำยแดน ๗ เมือง ได้แก่
เมืองไทรโยค ท่ำขนุน ท่ำกระดำน ท่ำตะกั่ว ลุ่มสุ่ม สิงห์ และ
ทองผำภูมิ
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐ 115