Page 81 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 81

ต่อมาอาจารย์วีระพันธ์ยังมีบทบาทเป็นผู้ร่วมก่อตั้งวง สมาชิกมีทั้งคนไทยและต่างชาติ เช่น ชาวฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เกาหลี ฯลฯ
               ดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ (Bangkok Symphony Orchestra  ที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาร่วมเล่นดนตรีด้วยใจรัก
               หรือ BSO) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ปัจจุบันคือวง Royal Bangkok   แม้ว่าอาจารย์วีระพันธ์มีบทบาทเกี่ยวกับดนตรีมากมาย
               Symphony Orchestra หรือ RBSO                      หลายด้าน แต่ตัวท่านเผยว่าสิ่งที่ท?าแล้วมีความสุขที่สุดคือ
                     “ผมเป็นวาทยกร และ Music Director คนแรกของ  การเป็น “ครู” สอนดนตรี
               วง BSO อยู่ได้ประมาณ ๖-๗ ปี หลังจากนั้นผมคิดว่าตนเอง   ภายหลังเกษียณอายุราชการจากกองทัพเรือ ท่านได้
               พอแล้ว ให้คนอื่นเข้ามาท?าบ้างดีกว่า”              ก่อตั้งโรงเรียนดนตรีวีระพันธ์ดุริยางค์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕
                     แม้กระนั้นภายหลังท่านยังได้ร่วมงานกับวง BSO   เพื่อสอนดนตรีให้กับบุคคลทั่วไป โดยอาจารย์วีระพันธ์รับหน้าที่
               ออกแสดงในวาระส?าคัญอยู่เสมอ เช่น เป็นวาทยกรวง BSO   สอนไวโอลิน วิโอล่า ทฤษฎีดนตรี และการรวมวง
               ในพิธีเปิด-ปิด การแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๑๓    คนที่มาเรียนมีทั้งผู้ใหญ่หลากหลายอาชีพ ครูสอนดนตรี

               เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๑ และเป็นวาทยกรวง BSO ในการแสดงคอนเสิร์ต ที่มาเรียนทฤษฎีดนตรีเพื่อเพิ่มความรู้ให้ตัวเอง และเด็ก ๆ
               เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส ทุกช่วงวัย
               พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ณ Dewan        “เวลาสอนเด็ก ๆ บางคนอาจจะซน ผมไม่เคยอารมณ์เสีย
               Filharmonik Petronas เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย  เพราะเราสอนให้เขารักดนตรี ไม่ได้สอนให้เขาเกลียดดนตรี”
               เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒                             นับจากโรงเรียนวีระพันธ์ดุริยางค์เปิดมาเป็นเวลากว่า
                     นอกจากนั้นอาจารย์วีระพันธ์ยังมีผลงานการประพันธ์ สิบปี มีลูกศิษย์หลายคนที่อาจารย์วีระพันธ์สอนมาตั้งแต่พวกเขา
               เพลง เช่น วอลซ์นาวี เพลงทหารพรานนาวิกโยธิน (นักรบชุดด?า)   ยังเป็นเด็กเล็ก จากที่เล่นดนตรีไม่เป็นจนเล่นได้ แล้วพัฒนา
               เพลงสมญานามนาวิกโยธิน เพลงกองบินนาวี เพลงมาร์ช-  ฝีมือขึ้นเรื่อย ๆ กระทั่งได้รับทุนไปศึกษาต่อทางดนตรีถึง
               สี่เหล่าศูนย์ห้า และผลงานเรียบเรียงเสียงประสาน อาทิ เพลง ต่างประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่นหรือเกาหลี
               น้อมเกล้าฯ ถวายชัยมงคล เพลงสิริมหาราชินี เพลงศึกบางระจัน   “เขาไปเรียนเมืองนอกแล้ว พอติดขัดหรือมีปัญหาอะไร
               เพลงต้นตระกูลไทย เพลงบัวขาว เพลงในฝัน หรือเพลงประกอบ เขายังไลน์มาถามเป็นประจ?า เหมือนกับเป็นลูกหลาน มีอะไร
               ภาพยนตร์ ได้แก่ เพลงไม่มีสวรรค์ส?าหรับคุณ         ก็มาปรึกษา” อาจารย์วีระพันธ์กล่าวอย่างปลื้มใจ
                     รวมทั้งในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ อาจารย์วีระพันธ์ยังได้ริเริ่ม   “ผมถึงอยากฝากบอกผู้ปกครองว่า ใครมีลูกหลาน ให้เรียน
               ก่อตั้งวง Bangkok International Community Orchestra   ดนตรีเถอะ เพราะมีประโยชน์ทั้งนั้น เด็กจะมีความละเอียดอ่อน

               ซึ่งท่านมักเรียกติดปากว่า “วงคอมมูนิตี้” เป็นวงสมัครเล่นของ มีสมาธิและความอดทน จะไปท?าอะไรก็ประสบความส?าเร็จ
               คนจากหลากหลายอาชีพ                                โดยที่ไม่ต้องท?าอาชีพนักดนตรีก็ได้”
                     “ตอนผมอยู่อังกฤษ เมืองใหญ่ทุกเมืองมีวงสมัครเล่น    อาจารย์วีระพันธ์มักย?้ากับทุกคนเสมอว่าการเล่นดนตรี
               เขาเรียกวงคอมมูนิตี้ หรือวงดนตรีของชุมชน สมาชิกเป็น  ต้องมีวินัยและความอดทน ดังเช่นตัวท่านแม้ผ่านความส?าเร็จ
               นักดนตรีสมัครเล่น ปีหนึ่งก็เล่นคอนเสิร์ตครั้งสองครั้ง เมื่อ  ในวิชาชีพอย่างสูงสุดมาแล้ว ถึงวันนี้ทุกเช้าที่เดินทางมาถึง
               ผมกลับเมืองไทย หลังจากที่ไม่ได้ท?าวงบีเอสโอแล้ว ก็เลยมา  โรงเรียนวีระพันธ์ดุริยางค์ก่อนใคร ท่านจะนั่งในห้องท?างานของ
               คิดว่าท?าวงคอมมูนิตี้บ้างดีกว่า”                  ตนเพียงล?าพัง หยิบไวโอลินคู่มือขึ้นมาประทับไหล่ แล้วลงมือ
                     นับจากตั้งวงคอมมูนิตี้ในเมืองไทย อาจารย์วีระพันธ์  ชักคันสีไล่สเกลเสียง ฝึกมือไปอย่างมีสมาธิตั้งอกตั้งใจ
               ท?าหน้าที่วาทยกรและผู้อ?านวยการของวงมาจวบจนปัจจุบัน
               ตามปกติจะซ้อมกันทุกวันศุกร์ตอนเย็นถึงค?่า ที่สภาคริสตจักร   นับเป็นช่วงเวลาอันเรียบง่ายลึกซึ้งระหว่างตัวท่าน
               บริเวณสะพานหัวช้าง และมีการแสดงคอนเสิร์ตปีละ ๑-๒ ครั้ง  และดนตรีที่ผูกพันกันมาทั้งชีวิต





                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    79
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86