Page 79 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 79
พลเรือตรีวีระพันธ์ หรือที่ลูกศิษย์มักเรียกว่า อาจารย์ ระหว่างรับราชการที่กองดุริยางค์ทหารเรือ ท่านได้รับ
วีระพันธ์ ปัจจุบันอายุ ๗๒ ปี เกิดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๘ วัยเด็ก การเลื่อนต?าแหน่งจากหัวหน้าแผนกดนตรี จนได้เป็นผู้บังคับ
อาศัยอยู่ที่บ้านแถบถนนอรุณอัมรินทร์ คุณพ่อเป็นคนจังหวัด กองดุริยางค์ พร้อมกับมีผลงานเป็นวาทยกรน?าวงดุริยางค์
นครราชสีมา รับราชการทหารเรือ ส่วนคุณแม่เป็นชาวกรุงเทพฯ ราชนาวีออกแสดงในงานกาชาดคอนเสิร์ตเป็นประจ?าทุกปี
ท่านเล่าถึงจุดเปลี่ยนครั้งส?าคัญในชีวิตให้ฟังว่า แต่ประสบการณ์ที่ท?าให้ประทับใจมากที่สุด คือมีโอกาสน?าวง
“ตอนผมเรียนจบชั้นประถม ๔ อายุ ๑๒ ปี จะต้องเรียน ไปแสดงถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ต่อชั้น ม.๑ แต่แม่บอกให้ไปเรียนที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือ ในงานเลี้ยงพระราชทานแขกต่างประเทศคนส?าคัญต่าง ๆ
ทั้งที่ก่อนหน้านั้นผมไม่เคยเล่นดนตรีมาก่อนด้วยซ?้า ที่นี่มีข้อดี “อย่างเช่นในงานเลี้ยงพระราชทานแก่ประธานาธิบดี
คือพอเข้ามาเรียนแล้วเราจะได้เงินเดือนด้วย เป็นแบบทหาร ประเทศเยอรมนี ทางเขาเอาวงดนตรีเล็ก ๆ ๔-๕ ชิ้นมาแสดงด้วย
ครูเลือกให้ผมเล่นไวโอลิน เพราะเห็นว่าเราตัวเล็ก ผมเป็นเด็กขยัน ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ก็โปรดเกล้าฯ ให้วงดุริยางค์ราชนาวีไปเล่น
เรียนดีตลอด พอผมเรียนจบห้าปี ยังไม่ทันจะบรรจุติดยศจ่าตรี ถวาย ตอนนั้นผมยังหนุ่ม พระองค์เสด็จฯ มาที่วง มีรับสั่งกับผม
กองทัพเรือก็ให้ทุนไปเรียนดนตรีต่อที่อังกฤษ” ว่า วีระพันธ์ อย่าเล่นเพลงของเยอรมันนะ ยังไงเราก็เล่นสู้เขา
อาจารย์วีระพันธ์ได้รับทุนเข้าศึกษาที่ Royal Marine ไม่ได้ เล่นเพลงไทย ๆ นี่แหละ ผมยังจ?าได้ดีเพราะประทับใจที่สุด”
School of Music ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นสถาบันสอนดนตรี อาจารย์วีระพันธ์เล่าอย่างปลาบปลื้ม
ทหาร จึงได้เรียนเครื่องลมเครื่องเป่า ดนตรีมาร์ชชิงแบนด์ “บางครั้งที่วงเราไปแสดงถวาย พระองค์ก็ขึ้นมาทรงดนตรี
ซึ่งมีการเดินแถวแปรขบวน เป็นเวลาปีครึ่ง กระทั่งจบหลักสูตร ร่วมกับวงด้วย โดยทรงเป่าแซกโซโฟน แล้วเวลาเหนื่อย หยุด
Band Master พักได้ แต่พระองค์รับสั่งว่าไม่ให้อยู่เฉย ๆ ต้องเช็กเสียง ปรับตั้ง
หลังจากนั้นสมัครเข้าเรียนต่อสถาบันเอกชน Royal เสียงให้เข้ากัน คือพระองค์ทรงพิถีพิถันเรื่องเสียงมาก”
Academy of Music กรุงลอนดอน โดยเลือกเรียนวิชาเอก
สาขาไวโอลินและอ?านวยเพลง
เมื่อเรียนจบจากประเทศอังกฤษ อาจารย์วีระพันธ์กลับ
มาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เข้ารับราชการที่กองดุริยางค์
ทหารเรือ รับหน้าที่เป็นนักดนตรีไวโอลิน ต่อมายังเป็นวาทยกร
คุมวงดุริยางค์ราชนาวีออกแสดงตามงานต่าง ๆ
“การเป็นนักดนตรีเราก็เล่นเฉพาะส่วนของตัวเอง แต่
เมื่อเป็นวาทยกรต้องควบคุมความถูกต้องของการบรรเลงดนตรี
ทั้งวง อาจเปรียบเหมือนพ่อครัวที่คัดเลือกส่วนผสมทุกอย่าง
เพื่อปรุงอาหารให้ได้รสชาติอร่อยกลมกล่อม” อาจารย์อธิบายถึง
บทบาทที่แตกต่างกันระหว่างนักดนตรีและวาทยกร
“ฉะนั้นคนที่เป็นวาทยกรต้องมีสมาธิดี หูดี เวลาฟัง
นักดนตรีทั้งวงบรรเลง โดยเฉพาะวงใหญ่ ๆ ต้องบอกได้ว่านักดนตรี
คนไหนเล่นถูก คนไหนเล่นผิด และจะแก้ไขอย่างไร วาทยกร
จะเป็นคนคุมจังหวะและก?าหนดทิศทาง ให้นักดนตรีเล่นเป็น
หนึ่งเดียวกัน เช่น เมื่อบรรเลงท?านองช่วงนี้ เมโลดี้อยู่ตรงไหน
เสียงประสานเป็นยังไง เครื่องไหนควรเล่นดัง เครื่องไหนเล่นเบา
ฟลุตต้องเด่น ไวโอลินเบาลงหน่อย เป็นต้น”
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 77