Page 49 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 49

๕


         ๔





            ๑ ฝ่ายรุกวางลูก
            ๒ พร้อมงัด
            ๓ ไม้แม่และไม้ลูก                                    ฝ่ายตีก็จะได้ตีอีกหนึ่งครั้ง ผู้แพ้ก็จะต้องเริ่มต้นหึ่มใหม่ และต้อง
            ๔ โยนลูกขึ้นสูงเพื่อตี
            ๕ รับไม้ลูกที่ลอยมา                                  หึ่มจนถึงหลุมที่งัดไม้จึงจะได้เป็นผู้เล่นบ้าง ในกรณีที่ตีไม้ลูกผิด
                                                                 หรือไม่โดนก็นับด้วย เช่น เดาะไม้ลูกได้ ๒ ครั้ง ตีไม้ลูกผิด ๑ ครั้ง
                                                                 ก็ตีได้อีกครั้งเดียวถ้าตีผิดก็จะต้องให้ฝ่ายตรงข้ามสลับมาเป็นตี
            เพื่อค?านวณระยะของการงัดไม้ลูกหึ่มว่าน่าจะไปตกตรงจุดไหน   หรือฝ่ายรุกบ้าง
            เพื่อที่ฝ่ายรับจะสามารถวิ่งไปดักเพื่อรับไม้ลูกหึ่มที่อีกฝ่ายหนึ่ง   ประโยชน์ของการเล่นไม้หึ่ม เป็นการสอนให้เด็ก ๆ รู้จัก
            งัดขึ้นไป                                            การค?านวณ การคาดคะเน ตลอดจนการเข้าร่วมกิจกรรมในกลุ่มเพื่อน
                  ส่วนฝ่ายตี (ฝ่ายที่งัด) ก็จะพยายามงัดไม้ลูกให้พุ่งออกไป   ส่วนรายละเอียดของกฎกติกาในยุคปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยน
            หรืองัดให้ลอยโด่งสูงก็แล้วแต่กลยุทธ์ที่ฝ่ายรุกจะเลือกใช้ เพราะ  ไปตามในแต่ละกลุ่มและภูมิภาค แต่โดยรวมแล้วยังคงลักษณะ

            ถ้าคู่ต่อสู้รับได้ คู่ต่อสู้ก็จะมาเป็นฝ่ายงัดบ้าง แต่ถ้ารับลูกหึ่มไม่ได้   ดั้งเดิมของการเล่นไว้ นั่นคือ การงัดและตีลูกหึ่มให้ลอยไปข้างหน้า
            ผู้งัดก็จะไปยืนหยุดอยู่ที่ลูกหึ่ม และจะท?าการเดาะไม้ลูก เดาะได้  และฝ่ายรับต้องรับไม้ลูกที่ถูกงัดหรือตีให้ลอยไปข้างหน้าให้ได้
            กี่ครั้งก็จะได้เป็นฝ่ายตีตามที่ตัวเองเดาะได้ เช่น เดาะได้ ๒ ครั้ง   และสลับกันเป็นฝ่ายรุกและรับ
            ก็จะได้ตีลูก ๒ ครั้ง
                  วิธีการรุกอีกแบบนอกจากการใช้วิธีงัด คือ การตีไม้ลูก   ทดลองเล่น

            โดยถือไม้ตีไว้ในมือตั้งขึ้น ๙๐ องศาโดยยื่นนิ้วชี้และนิ้วโป้งออก   ด้วยความอยากเห็นภาพการเล่นที่มีชีวิต จึงนัดหมายเด็ก ๆ
            และวางไม้ลูกไว้บนนิ้วทั้งสอง จากนั้นให้โยนลูกหึ่มขึ้นไปบนอากาศ  ชักชวนกันมาทดลองเล่นไม้หึ่มกันดู เมื่อพร้อมหน้าจึงบอกว่า
            แล้วเอาไม้ตีตีไปที่ลูกหึ่ม ลูกหึ่มไปตกที่ใด คู่ต่อสู้จะต้องไปเก็บ  วันนี้เราจะมาเล่นไม้หึ่มกัน เด็ก ๆ หัวเราะท?าหน้างง ไม่รู้จักว่าไม้หึ่ม
            ไม้ลูกหึ่มถือไว้ในมือแล้วกลั้นลมหายใจร้องหึ่ม ๆ ในล?าคอ จากนั้น คืออะไร เราจึงอธิบายที่มาของค?าว่าหึ่มนั้นมาจากส่วนหนึ่งของ
            พยายามวิ่งให้เร็วที่สุดให้มาถึงหลุมที่งัดให้ได้ เมื่อมาถึงก็จะได้เป็น  การเล่น ที่ผู้เล่นต้องส่งเสียงหึ่ม ๆ ก่อนจะอธิบายกติกาแบบง่าย ๆ
            ผู้เล่นฝ่ายรุกบ้าง แต่ถ้าวิ่งมาแล้วเสียงหึ่มขาดหายก็ต้องหยุดอยู่  จากนั้นจัดแบ่งเด็ก ๆ ออกเป็นฝ่ายรุกและรับ แรกเริ่มเด็กที่คุ้นเคย
            ตรงนั้น โดยผู้เล่นอีกฝ่ายจะวิ่งตามเพื่อดูว่าเสียงหึ่มขาดตรงไหน   แต่กับเทคโนโลยีบนมือถือมากกว่าดูจะงงเล็กน้อย ต่อเมื่อฟัง
             ๔


                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    47
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54