Page 43 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 43

วันศุกร์
                                                   นางสงกรานต์ชื่อนางกิมิทา

                                                                                        วันเสาร์
                                                                                  นางสงกรานต์ชื่อนางมโหธร

                              วันพฤหัสบดี
                         นางสงกรานต์ชื่อนางกิริณี                    ภาพวาดนางสงกรานต์จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม






                  ทั้งนี้นางสงกรานต์จะมีอิริยาบถต่าง ๆ บนพาหนะที่ทรงมา   ต?านานสงกรานต์นี้ใช้อธิบายความเป็นมาของประเพณี
            ได้แก่ ยืน นั่ง นอนลืมตา และนอนหลับตา อิริยาบถของนางสงกรานต์ สงกรานต์ในประเทศไทย มีหลากหลายส?านวนว่ากันไปตามบริบท
            เหล่านี้สัมพันธ์กับการค?านวณเวลาในการเข้าสู่วันมหาสงกรานต์ตาม ของแต่ละท้องถิ่น อย่างไรก็ตามกระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศขึ้น
            โหราศาสตร์ อีกทั้งยังมีความเชื่อมาแต่โบราณอีกด้วย ถ้าหากนาง ทะเบียนต?านานสงกรานต์ให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
            สงกรานต์ยืนมา จะเกิดความเดือดร้อนเจ็บไข้ ถ้านางสงกรานต์นั่งมา  ของชาติในสาขาวรรณกรรมพื้นบ้าน สิ่งนี้เองที่จะช่วยรักษาหลัก
            จะเกิดความเจ็บไข้ ผู้คนล้มตาย และเกิดเหตุเภทภัยต่าง ๆ ถ้านาง ใหญ่ใจความส?าคัญของต?านานเก่าแก่เรื่องนี้ไว้ เพราะทุกวันนี้
            สงกรานต์นอนลืมตา ประชาชนจะอยู่เย็นเป็นสุข ถ้านางสงกรานต์ ปฏิเสธไม่ได้ว่าบางแง่มุมของต?านานสงกรานต์ถูกน?าไปผูกโยง

            นอนหลับตา พระมหากษัตริย์จะเจริญรุ่งเรืองดี           เข้ากับการส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ บางจังหวัด
                  ด้านค?าท?านายเกี่ยวกับวันมหาสงกรานต์ว่าหากตรงกับวันไหน  น?าไปเป็นแนวคิดในการออกแบบขบวนแห่แหนรอบเมืองเพื่อ
            จะให้ผลอย่างไร ก็เป็นสิ่งที่ชาวบ้านชาวเมืองอยากรู้ หากปีนั้นวันมหา  ความรื่นเริง ตลอดจนการจัดการประกวดนางสงกรานต์ ซึ่งท?าให้
            สงกรานต์ตรงกับวันอาทิตย์ พืชพรรณธัญญาหารไม่สู้งอกงามนัก   เห็นได้ว่า ต?านานเกี่ยวกับสงกรานต์แม้ถูกปรับเปลี่ยนช่องทาง
            วันจันทร์-ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่จะเรืองอ?านาจ วันอังคารและวันเสาร์- การบอกเล่าไปตามกาลเวลา แต่ก็ยังคงมีความรับรู้ของคนในสังคม
            โจรผู้ร้ายจะชุกชุม เกิดการเจ็บไข้ร้ายแรง วันพุธ-ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ อย่างต่อเนื่อง
            ได้รับการยกย่องจากต่างประเทศ วันพฤหัสบดี-ผู้น้อยจะแพ้ผู้เป็นใหญ่
            และเจ้านาย วันศุกร์-พืชพรรณธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ ฝนชุก พายุ  เอกสารอ้างอิง
            พัดแรง ผู้คนเป็นโรคตาและเจ็บไข้กันมาก                   ส. พลายน้อย. ตรุษสงกรานต์ ประมวลความเป็นมาของปีใหม่ไทย
                                                                      สมัยต่าง ๆ กรุงเทพฯ : บริษัทมติชน จ?ากัด (มหาชน). ๒๕๔๗





                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    41
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48