Page 60 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 60
ในยุครัตนโกสินทร์ งานฟื้นฟูและพัฒนา เริ่มจากพิธีตักน?้าศักดิ์สิทธิ์จากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
พระราชประเพณีครั้งส?าคัญเกิดขึ้นในรัชกาลที่ ๑ ต่าง ๆ ทั่วประเทศมาท?าพิธีเสกน?้าส?าหรับถวาย
รัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๙ ซึ่งทุกครั้งมีผลสร้าง เป็นน?้าอภิเษก และน?้าสรงพระมูรธาภิเษก พิธีจารึก
ความเจริญรุ่งเรืองให้กับสังคมไทยมาก พระปรมาภิไธยลงบนพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรม-
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ ราชสมภพ และแกะดวงตราพระราชลัญจกรประจ?า
ในศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นสิ่งแสดงถึงอารยธรรมและ รัชกาล เป็นต้น
ความเจริญรุ่งเรืองของชนชาติไทยที่มีมานานนับพันปี พระราชพิธีเริ่มในวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๔๙๓
ทรงสนพระราชหฤทัยทะนุบ?ารุงอยู่เสมอ ทรงเป็น เวลา ๑๘.๐๐ น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
นักพัฒนาที่เห็นการณ์ไกลและแสวงหาวิทยาการใหม่ ๆ พร้อมด้วยสมเด็จพระราชินีเสด็จพระราชด?าเนิน
เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของมวลพสกนิกร เข้าสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน
แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงเป็นนักอนุรักษ์ผู้ค?านึงถึงอดีต ทรงเป็นองค์ประธานในพิธีประกาศการพระราชพิธี
อันดีงามของชาติไทยอยู่ตลอดเวลา ทรงตระหนักดีว่า บรมราชาภิเษก และเจริญพระพุทธมนต์ในการ
อดีตคือรากฐานของปัจจุบันและอนาคต ด้วยเหตุนี้ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
จึงทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ฟื้นฟูพระราชประเพณี วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ เวลา ๑๑.๒๐ น.
ที่ส?าคัญขึ้นดังต่อไปนี้ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เสด็จฯ ในการพระราชพิธีบรม-
ราชาภิเษก ทรงรับการสรงพระมูรธาภิเษก จากนั้น
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เสด็จฯ สู่พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ประทับพระที่นั่ง
พระราชพิธีบรมราชาภิเษกมีหลักฐานปรากฏ อัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ภายใต้พระบวรมหาเศวตฉัตร
ในหลักศิลาจารึกวัดศรีชุมของพญาลิไทว่า เริ่มต้นมา แปรพระพักตร์สู่ทิศบูรพาเป็นปฐม เพื่อทรงรับ
ตั้งแต่ครั้งพ่อขุนผาเมืองได้อภิเษกพ่อขุนบางกลางหาว น?้าอภิเษกจากสมาชิกรัฐสภา พระราชครูวามเทพมุนี
หรือพ่อขุนบางกลางท่าว ให้เป็นผู้ปกครองเมือง (สวาสดิ์ รังสิพราหมณกุล) น้อมเกล้าฯ ถวาย
สุโขทัย พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร จากนั้นจึงเสด็จฯ ประทับ
จากนั้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาท- ณ พระที่นั่งภัทรบิฐภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรง พระราชครูวามเทพมุนีร่ายเวทย์สรรเสริญศิวาลัย
ฟื้นฟูพระราชพิธีบรมราชาภิเษกให้ถูกต้องสมบูรณ์ ไกรลาส จบแล้วกราบบังคมทูลถวายเครื่องราช-
ตามโบราณราชประเพณี (พระมหากษัตริย์ที่ยัง กกุธภัณฑ์เป็นภาษามคธ แล้วทูลเกล้าฯ ถวาย
มิได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจะไม่ใช้ พระสุพรรณบัฏจารึกพระปรมาภิไธย “พระบาท-
ค?าว่า “พระบาท” น?าหน้า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลา-
และค?าสั่งของพระองค์ก็ไม่เรียกว่า “พระบรม- ธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช
ราชโองการ” และจะยังไม่มีการใช้นพปฎลเศวตฉัตร บรมนาถบพิตร” พร้อมด้วยเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์
หรือฉัตร ๙ ชั้น) เครื่องขัตติยราชวราภรณ์ เครื่องราชูปโภค และพระแสง
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- ราชศัสตราวุธ แล้วจึงมีพระปฐมบรมราชโองการ
อดุลยเดช ได้ทรงกระท?าพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยทั้งหลายว่า
เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ล?าดับที่ ๙ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์
แห่งราชวงศ์จักรีอย่างสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓
58