Page 57 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 57

เรื่องที่ห้า การบ?ารุงรักษา ตัวอย่างเช่นการสร้างศาลหลักเมือง
            กรุงเทพมหานคร ซึ่งทรงตรัสต่อสถาปนิกว่าต้องยึดความมั่นคง
            แข็งแรง และการบ?ารุงรักษาเป็นส?าคัญ เพราะมีคนเข้ามาสักการะ
            อยู่บ่อย ๆ จะปิดซ่อมหรือทาสีบ่อย ๆ ไม่ได้ การบ?ารุงรักษาต้อง
            เหมาะสมกับทุกคนที่มาจากที่ต่าง ๆ กันได้โดยง่าย
                  เรื่องที่หก จิตใจของคนอยู่อาศัย ยกตัวอย่าง ศาลเทพารักษ์
            ในบริเวณศาลหลักเมือง เมื่อก่อสร้างตัวอาคารเสร็จแล้ว ก็ถึงเวลา
            ต้องท?าลวดลายรดน?้าที่บานประตู พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

            รัชกาลที่ ๙ ทรงตรัสว่า ในศาลเทพารักษ์นั้น พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง
            เจ้าพ่อหอกลอง เจ้าพ่อเจตคุปต์ และพระกาฬไชยศรี ล้วนเป็น
            เทพารักษ์ที่ดุทั้งสิ้น
                  ฉะนั้นลายที่จะใช้ตกแต่งบานประตูหน้าต่าง ให้เขียนลาย
            มงคล ๘ ประการ เพื่อให้ประชาชนที่เข้ามาสักการะเทพารักษ์
            ทั้ง ๕ นั้นเป็นมงคลแก่ตัว
                  ดังนั้น “สถาปัตยกรรมที่ดีคือสถาปัตยกรรมที่เคารพ
            ธรรมชาติ เคารพมนุษย์ผู้ใช้สถาปัตยกรรมนั้น” ซึ่งพระบาทสมเด็จ-
            พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นตัวอย่างของผู้ที่คิด
            รอบด้านให้เกิดสถาปัตยกรรมที่ดี สถาปัตยกรรมที่เคารพทั้งธรรมชาติ
            และมนุษย์
                  นอกจากนี้ผมยังเพียรศึกษาหลักคิดของพระองค์ท่าน
            ในการออกแบบสถาปัตยกรรมด้านอื่น ๆ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
            ๑. ใช้เงินให้คุ้มค่า ขนาดเหมาะสมกับคนอยู่ ๒. อย่าท?าลาย   ๒

            สิ่งแวดล้อม ๓. คิดถึง Universal design เพื่อทุกคน ๔. คิดถึง
            ความรู้สึกของคนใช้ ๕. คิดถึงคนดูแลรักษา ๖. คนใช้ต้องสะดวก
            ในชีวิตประจ?าวัน ๗. ความงามส?าคัญ ๘. อย่าท?าลายประวัติศาสตร์
            รักษาอดีตเอาไว้ ๙. แก้แบบต้องรู้เรื่องช่างบ้าง ๑๐. ต้องมีความรู้ครบ   ในวารสารชัยพัฒนา ประจ?าเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒ คือ “เศรษฐกิจ
            ความเกื้อกูลกันของงานศิลปะ วิทยาศาสตร์ เพื่อสังคม ดังพระบรม-   พอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานของความมั่นคง
            ราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร   ของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือน
            ณ วังท่าพระ เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๐๙ ที่ว่า “การศึกษา   ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คน
            ด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นการศึกษาที่ส?าคัญและควรจะด?าเนิน    ส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มแล้วลืมเสาเข็มด้วยซ?้าไป”
            ควบคู่กันไปกับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เพราะความเจริญ
            ของบุคคล ตลอดจนความเจริญของประเทศ มีทั้งทางวัตถุ และ      โชคดีที่สุดที่ได้เกิดบนแผ่นดินของในหลวงรัชกาลที่ ๙
            จิตใจ ความเจริญทั้งสองทางนี้จะต้องมีประกอบกันเกื้อกูลและ   ของเรา เหล่าช่างทั้งหลายพึงอ่านและเดินตามรอยพระบาท
            ส่งเสริมกัน...” ๑๑. เสาเข็มเป็นสิ่งส?าคัญ ดังพระบรมราโชวาท ตีพิมพ์  กันเทอญ



                                                                                             มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐    55
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62