Page 64 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 64

๑





          ไปยังโรงเก็บเรือพระราชพิธีที่คลองบางกอกน้อย   โบราณ ที่สามารถแสดงออกถึงความเป็นเอกลักษณ์  ๑ พระราชพิธีพืชมงคล
          ทอดพระเนตรเห็นเรืออยู่ในสภาพช?ารุดทรุดโทรม จึงมี ของชาติได้อย่างดียิ่ง นอกจากนี้ยังเป็นงานศิลปกรรม  จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
                                                                                                ณ บริเวณท้องสนามหลวง
          พระราชด?าริว่าถ้ามีการฟื้นฟูการเสด็จพระราชด?าเนิน ที่รัฐบาลไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าและความส?าคัญ   (ประเวช ตันตราภิรมย์ ภาพ)
          ถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราชลมารคขึ้น จึงได้ให้การท?านุบ?ารุงรักษาเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์   ๒ พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ
          คงไม่สิ้นเปลืองอะไรมากนัก เพราะก?าลังคนสามารถ มาโดยตลอด จนสามารถน?ามารับใช้เบื้องพระยุคลบาท
          ใช้คนของทหารเรือ เสื้อผ้า เครื่องแต่งกายท?าขึ้น  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
          ครั้งเดียวก็สามารถใช้ได้แรมปี ส่วนประโยชน์ที่ได้รับ รัชกาลที่ ๙ ในการพระราชพิธีต่าง ๆ จนมาถึงปัจจุบัน

          นั้นมีมากมายหลายประการ เช่น เรือพระราชพิธีต่าง ๆ   อันถือได้ว่าเป็นการสืบต่อความส?าคัญทางประวัติ-
          อันสวยงามและทรงคุณค่าในทางศิลปะเหล่านี้ จะได้รับ  ศาสตร์ในการต่อเรือ และการเดินเรือ รวมทั้งการ
          การดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดีอยู่เสมอ   ค้าขายทางทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกไกล
               ความยิ่งใหญ่และความงดงามในศิลปกรรมของ
          กระบวนเรือเสด็จพระราชด?าเนินทางชลมารคนั้นเป็น พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล-
          มรดกที่โดดเด่นของชาวโลก โดยเฉพาะความงดงามของ แรกนาขวัญ

          เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ซึ่งได้รับเหรียญ “รางวัลมรดก  พ.ศ. ๒๕๐๓ ได้ทรงพระราชกรุณาโปรดเกล้าฯ
          ทางทะเลขององค์การเรือโลก ประจ?าปี ค.ศ. ๑๙๙๒  ให้ฟื้นฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
          (The World Ship Trust Maritime Heritage Award  ขึ้นมาใหม่หลังจากที่ได้เลิกไปตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๙
          “SUPHANNAHONG ROYAL BARGE”)                    สังคมไทยโบราณเป็นสังคมเกษตรกรรมถือการ
               กระบวนเรือเสด็จพระราชด?าเนินทางชลมารค ปลูกข้าวเป็นส?าคัญ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเสาหลัก
          แสดงถึงความมีอัจฉริยะในการต่อเรือของช่างไทย และมิ่งขวัญของสังคม มีประเพณี “พระราชพิธีแรก-



          62
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69