Page 65 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 65

นาขวัญ” มาช้านาน ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงพระราชด?าริว่า   ช้างเผือกเป็นราชพาหนะคู่พระบารมีของพระมหา-
                              เป็นพระราชพิธีที่กระท?าเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่พืชพันธุ์   กษัตริย์ มีฐานะเทียบเท่าเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า เมื่อรัชกาล
                              ธัญญาหาร ให้รู้ก?าหนดน?้าฝนน?้าท่า และเพื่อบ?ารุงขวัญเพิ่มพูน   ที่ ๙ ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายช้างเผือกแล้ว จะทรง
                              ก?าลังใจแก่เกษตรกรซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ  ประกอบพระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างเผือก นับเป็น
                                    การฟื้นฟูพระราชพิธีนี้มิได้มีผลเพียงสร้างสิริมงคล  การฟื้นฟูและอนุรักษ์พระราชประเพณีที่ส?าคัญยิ่ง
                              เท่านั้น แต่ได้ทรงเน้นเรื่องการพัฒนาเกษตรกรรมด้วย โดย  พระราชพิธีประกอบด้วย พิธีถวายช้างส?าคัญ
                              จัดให้วันนี้เป็น “วันเกษตรกร” มีกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนา  พิธีจารึกชื่อช้างส?าคัญลงในอ้อยแดง กระบวนแห่ช้าง
                              เกษตรกรรม โปรดเกล้าฯ ให้ทุกจังหวัดจัดงานวันเกษตรกร   ส?าคัญเข้าสู่โรงพระราชพิธี จากนั้นพระบาทสมเด็จ-
                              มีการประกวดพืชผลและพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการ  พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทาน
                              พัฒนาผลผลิตทางเกษตร พระราชทานพระบรมราชวโรกาส  น?้าพระพุทธมนต์ด้วยพระมหาสังข์แด่ช้างส?าคัญ

                              ให้ผู้แทนชาวนาทุกภาคได้เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานรางวัล  พระราชทานเครื่องคชาภรณ์ (เครื่องแต่งตัว) พราหมณ์
                              การประกวดพันธุ์ข้าว พระราชทานพันธุ์ข้าวทรงปลูกจาก  อ่านฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง ศิลปินขับไม้ ช้างส?าคัญ
                              สวนจิตรลดาให้เป็นเมล็ดข้าวมิ่งขวัญแก่ชาวนาทั่วประเทศ  อาบน?้า ตักบาตร เลี้ยงพระ และเวียนเทียน โดย
                                                                           พระราชพิธีจัดท?าที่โรงช้างชั่วคราว คือ โรงช้างของ
                              พระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างส?าคัญ           จังหวัดที่ได้ช้าง หรือท?าในโรงช้างต้นที่สร้างให้ช้าง

                                    ตามจารีตประเพณีไทย “ช้างเผือก” แสดงถึงบุญ  อยู่ประจ?าเป็นโรงพิธีสมโภชก็ได้
                              บารมีของพระมหากษัตริย์ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ-      ช้างแรกในรัชกาลที่ ๙ ได้แก่ พระเศวตอดุลยเดช -
                              พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบังเกิดช้างเผือกคู่   พาหนฯ สมโภชขึ้นระวาง ณ โรงช้างต้น พระราชวังดุสิต
                              พระบารมีถึง ๑๐ เชือก                         เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๒
































                                ๒




                                                                                             มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐    63
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70