Page 85 - CultureMag2015-3
P. 85

“วนั ร่งุ ขนึ้ เดก็ คนนน้ั กย็ งั ซนอีก ผมจงึ เรยี กมาตมี อื          ด้านชีวิตครอบครัว ครูอบ ไชยวสุ แต่งงานและครอง
		 ๓ ท ี เปน็ ทฮี อื ฮาไปทว่ั โรงเรยี น วา่ ครอู บเกง่  ตลี กู พระองค์  ชวี ติ ครู่ ว่ มกบั นางสาวสายใจ นะคะปณิ ฑ ์ เมอ่ื ป ี ๒๔๖๗ มบี ตุ ร
		 เจา้ ได ้ ครอู ่ืนเอาอย่าง ตีบา้ ง วุน่ ไปหมด เจ้าคุณจรลั ฯ ก็       ธดิ าทงั้ สนิ้  ๘ คน หลาน ๒๓ คน เหลน ๑๑ คน กอ่ นทที่ า่ นจะ
		 เดือดร้อน หาว่าผมเป็นต้นเหตุ จึงถอดผมออกจากครู                       ถงึ แกก่ รรมเมอ่ื วนั ท ี่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๐ มีอายถุ งึ  ๙๖ ป ี
		 ประจำ� ชน้ั ...ผมถอื วา่ เปน็ การลงโทษทำ� ใหเ้ สอ่ื มเสยี  กเ็ ลย
		 ขอย้าย”                                                              อบ ไชยวส ุ
                                                                        สภุ าพบรุ ษุ นกั ประพนั ธ์
      ครูอบ ไชยวสุ ย้ายไปเป็นครูอีกสองแห่ง ก่อนที่จะส้ิน
สุดชีวิตการเป็นครูท่ีโรงเรียนวัดสุทธิวราราม หลังจากท่ี “อยู่                  ภาพหมู่ “คณะสุภาพบุรุษ” ท่ีครูอบ ไชยวสุ ประหวัด
ได้ ๒ ช่ัวโมงก็ลาออก” เพราะครูใหญ่จะให้ไปสอนภาษาไทย                     ถึงด้วยความเสียดายนั้น ถือได้ว่าเป็น “ภาพประวัติศาสตร ์
ชนั้  ม. ๘ แตเ่ หลอื เวลาแคเ่ พยี ง ๒ เดอื นกจ็ ะสอบไลแ่ ลว้  และ       ของวงการนักเขียนไทย” ถ่ายไว้เมื่อวันท่ี ๑ เมษายน ๒๔๗๓
เกณฑ์การตัดสินการสอบผ่านช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๘ ในสมัย                    (ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒ ปี) ภายหลังจากท ี่
น้ันมีว่า หากนักเรียนคนใดตกวิชาภาษาไทย คือสอบได้ไม่ถึง                  “นิตยสาร” สุภาพบุรุษ ฉบับปฐมฤกษ์ ได้ถือก�ำเนิดขึ้นเกือบ 
๕๐ เปอร์เซ็นต์ ก็จะถูกปรับให้ตกวิชาอื่น โดยครูจะไม่ตรวจ                 ๑ ปี (สุภาพบุรุษ ปีท่ี ๑ ฉบับที่ ๑ ออกจำ� หน่ายเป็นคร้ังแรก 
ข้อสอบวิชาอ่ืนๆ ให้เลย ครูอบเห็นว่า ถ้ารับสอนโดยไม่ได้                  เมือ่ วนั ท่ ี ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๗๒) 
เตรียมตัวมาอย่างดีก็ “จะเป็นการท�ำบาปให้เด็ก จึงตัดสินใจ
ลาออก” กอ่ นทจ่ี ะหนั ไปยดึ อาชพี นกั หนงั สอื พมิ พแ์ ละนกั เขยี น           บุคคลในภาพเป็นกลุ่มนักเขียนหนุ่ม (อายุประมาณ
เปน็ หลกั ในการเลย้ี งชวี ติ  โดยไดง้ านแรกเปน็ บรรณาธกิ ารของ          ๒๐ ปีเศษ) น�ำโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์ (“ศรีบูรพา”) ซึ่ง 
หนงั สอื พมิ พ์ สยามราษฎร์ ในป ี ๒๔๗๔ รบั เงนิ เดอื นเดอื นละ           ขณะนน้ั อาย ุ ๒๔ ป ี  คนกลมุ่ นชี้ กั ชวนมารวมตวั กนั ทำ� หนงั สอื  
๑๘๐ บาท มากกวา่ เงินเดือนครูถึงหนึง่ เทา่ ตัว                           “ที่จะเปลี่ยนโฉมหน้าการประพันธ์ให้หันจาก เล่น มาเป็น 
                                                                        งาน” โดยประกาศที่จะรับซ้ือเรื่องจากนักเขียน (ยุคนั้นยัง 
      หลงั จากนน้ั ไดย้ า้ ยไปทำ� งานหนงั สอื พมิ พอ์ กี หลายฉบบั       ไม่มีหนังสือเล่มใดกระทำ� อย่างเปน็ กิจจะลักษณะ) 
ก่อนที่จะมาท�ำงานที่หนังสือพิมพ์ สยามรัฐ รายสัปดาห์
หนงั สอื พมิ พ ์ สยามสมยั  รายสปั ดาห ์ พรอ้ มๆ กบั เขยี นหนงั สอื            	 “เพื่อให้เป็นบันไดข้างต้น ที่นักเขียนจะถือเอา
เรอ่ื งสน้ั  สารคด ี บทความ แปลหนงั สอื  โดยนามปากกาทมี่ ชี อ่ื         		 การเขียน การประพันธ์ เป็นอาชีพได้อีกอาชีพหนึ่ง...
เสียงและเป็นที่รู้จักของท่านคือ “ฮิวเมอริสต์” ซ่ึงใช้กับการ             		 เกดิ รายได้ แม้จะยงั ไม่มากนัก แต่กเ็ ปน็ ก�ำลังใจให้มุ่งม่นั
เขียนเร่ืองแนวตลกขบขัน เช่นเรื่องท่ีรู้จักกันและมีช่ือเสียงคือ          		 ทจ่ี ะท�ำงานประพนั ธ์ใหเ้ ปน็ อาชพี ที่จะยนื ยงตอ่ ไป...” 
“เอกพจนบ์ รุ ษุ ทห่ี น่งึ ” และ “สนุ ทรพจนเ์ ปิดส้วมสาธารณะ”

      ป ี ๒๕๒๙ ครอู บ ไชยวส ุ ไดร้ บั รางวลั พระเกย้ี วทองค�ำ 
จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะเป็นผู้บำ� รุงรักษาและ
เผยแพรภ่ าษาไทยอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และเปน็ ผทู้ พี่ ยายามเรยี กรอ้ ง
ให้มีการใช้ภาษาอย่างมีระบบ ในปีเดียวกันน้ีก็ได้รับยกย่อง
จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้เป็นศิลปินแห่งชาติ
สาขาวรรณศลิ ป ์ (หสั คดี) 

                                                                         ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 83
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90