Page 86 - CultureMag2015-3
P. 86
นักเขียนในภาพท่ีต่อมามีชื่อเสียงในวงการหนังสือ ดว้ ยการอดุ หนนุ ของประชาชนหรอื ผอู้ า่ น” ภาพถา่ ยหมใู่ นชดุ
หลายคน มีอาทิ กุหลาบ สายประดิษฐ์ พัฒน์ เนตรรังษี ราชปะแตนพยายามจะ “สร้างภาพนักเขียนในฐานะท่ีเป็น
ฉนุ ประภาววิ ฒั น ชติ บรุ ทตั โชต ิ แพรพ่ นั ธ ์ุ (“ยาขอบ”) ฯลฯ สถาบันหนึ่งของสังคม” และสื่อถึง “เคร่ืองแบบของนักเขียน
โดยมีครูอบ ไชยวสุ ซึ่งน่าจะมีอาวุโสสูงสุด (๒๙ ปี) ยืนอยู ่ อาชีพอิสระท่ีทรงเกียรติ” การที่คณะสุภาพบุรุษเลือกสถานที่
ตรงกลางภาพ ถา่ ยภาพหมทู่ หี่ นา้ ศาลยตุ ธิ รรม ขา้ งสนามหลวง กอ็ าจเปน็ นยั
แสดงถึงการท่ีบุคคลนั้นมีความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย
ครูอบ ไชยวสุ มีบทบาทอย่างส�ำคัญท้ังในฐานะผู้ และค�ำว่า “สุภาพบุรุษ” ในท่ีน้ี อาจเป็นความจงใจย้อนแย้ง
ร่วมก่อตั้งคณะสุภาพบุรุษร่วมกับ กุหลาบ สายประดิษฐ ์ ความหมายดงั้ เดมิ ของคำ� วา่ “ผดู้ ”ี ทย่ี ดึ ถอื เอาชาตกิ ำ� เนดิ เปน็
ส�ำนักงานหนังสือสุภาพบุรุษก็ใช้บ้านเดิมของท่านซึ่งอยู่ตรง เกณฑ์
ข้ามวัดชนะสงครามเป็นสถานที่ทำ� งาน โดยงานเขียนชิ้นแรก
เป็นแนวตลกขบขันในนามปากกา “ฮิวเมอริสต์” ก็ถือก�ำเนิด หลังจากท่ีครูอบ ไชยวสุ ลาออกจากการเป็นครูใน
ข้ึนที่หนังสือพิมพ์ สุภาพบุรุษ น้ี เช่นเดียวกับบทความแรก สถาบนั การศกึ ษา มายดึ “อาชพี ” นกั เขยี นและนกั หนงั สอื พมิ พ์
เรอ่ื ง “มา้ จริงๆ เป็นอย่างไร” เล้ียงชีวิต ตั้งแต่ปี ๒๔๗๔ ก็ไม่เคยกลับเข้าไปรับราชการ
อีกเลย หากบทบาทส�ำคัญอีกประการหนึ่งนอกจากเป็น
สุชาติ สวัสด์ิศรี ผู้คร่�ำหวอดในวงการหนังสือกล่าวว่า นักเขียน นักแปลแล้ว ครูอบ ไชยวสุ ยังเป็นผู้บุกเบิกการ
คณะสุภาพบุรุษ คือ “หมุดหมายของวงวรรณกรรมไทยสมัย ทกั ทว้ ง ตติ งิ ผทู้ เ่ี ขยี นภาษาไทยผดิ ๆ ผา่ นคอลมั น ์ “ลอ่ แหลม”
ใหม่” ส่วน ชูศักด์ิ ภัทรกุลวณิชย์ อาจารย์วรรณคดีศึกษา ในหนังสือสยามสมัย รายสัปดาห์ โดยใช้นามปากกา L.ก.ฮ.
ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ภาพถา่ ยคณะสภุ าพบรุ ษุ ภาพน ี้ “สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ (ต่อมารวบรวมพิมพ์เป็นเล่มชื่อว่า ภาษาไทยของเรา ท้วงที่
กระบวนการสร้างอัตลักษณ์นักเขียน ในฐานะนักเขียนอาชีพ ใช้ผิดด้วยวิธีล่อแหลม, ๒๕๐๕) และในคอลัมน์ “โป-ปูรี” ใน
อิสระ” ที่ “ผันตัวเองไปเป็นคนของสาธารณะ ด�ำรงตนอยู่ได้ สยามรฐั สปั ดาหวจิ ารณ ์ โดยใชน้ ามปากกาวา่ “ศรฮี กู สรุ าสวิ ด”ี
ซึ่งก่อใหเ้ กิดทั้งมติ รและศัตรูในทางภาษาอยู่ไม่นอ้ ย
ครั้งหนึ่งครูอบ ไชยวสุ ทักท้วง “ก. สุรางคนางค์” (ได้
รบั ยกยอ่ งใหเ้ ปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาต ิ สาขาวรรณศลิ ป ์ ในปเี ดยี วกนั
กับครูอบ ไชยวสุ) ที่เขียนว่า “ขนเอาน�้ำอัดลมใส่รังไปด้วย”
โดยกลา่ ววา่ “ถา้ เปน็ ผงึ้ เปน็ แตน เปน็ มด ตอ้ งใชร้ งั แตถ่ า้ นำ�้
อัดลมตอ้ งใชล้ ัง” ปรากฏวา่ เม่ือเร่อื งไปถงึ หนู กั เขียนเขา้ ก็มคี ำ�
ตอบโตม้ าวา่ “...เรอ่ื งทถ่ี กู คณุ L.ก.ฮ. ลอ่ แหลมเอาใน สยามสมยั
น้ัน พี่ไม่ถือ...คุณ L.ก.ฮ. น้ันก็แก่มากแล้ว นึกว่ายกให้คนแก่
เสียสักคน อีกไม่ช้าก็คงจะเข้ารัง ลัง หรือโรง หรือโลง หมด
รำ� คาญไป”
ไม่เพียงแต่ครูอบ ไชยวสุ จะทักท้วงการใช้ภาษาไทย
ของบุคคลท่ัวไปเท่าน้ัน ท่านยังวิพากษ์วิจารณ์ถึงความ
ผิดพลาดที่ปรากฏใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๔๙๓ ซ่ึงเพิ่งตีพิมพ์ออกมาในปีน้ันด้วย (หลังจากท่ีใช้
เวลาปรบั ปรงุ จากปทานกุ รมของกรมตำ� รา กระทรวงธรรมการ
ฉบบั ป ี ๒๕๗๐ ถงึ ๑๗ ป)ี ความทท่ี า่ นคอยตรวจสอบ ทกั ทว้ ง
84 วัฒนธ รม