Page 81 - CultureMag2015-3
P. 81

สุนทรยี ภาพของนกั พรตและศลิ ปิน                                         มนุษย์ การเรียนรู้จากจิตใจตัวเอง จากคนรอบตัว และจาก
                                                                        ภาคส่วนของการมองโลก มองสังคม มองการเปลี่ยนแปลง 
      ลักษณะเด่นในงานธรรมบรรยายทั้งหมดของท่าน                           ท่ีหมนุ เคล่อื นอยู่ในวิถีวฒั นธรรม 
เขมานันทะน้ัน นอกจากจะมีมิติกว้างไกลทั้งทางด้านศิลปะ
นิเวศวิทยา มานุษยวิทยา ให้ความรู้ลุ่มลึกในหนทาง                               ความตง้ั ใจในการใชช้ วี ติ บนวถิ ที างการปฏบิ ตั ภิ าวนาที่
พทุ ธประเพณขี องวฒั นธรรมไทยแลว้  ภาษาทอี่ าจารยเ์ ลอื กใช้             ท่านปฏิบัติอยู่อย่างม่ันคงได้แสดงพลังส่วนหน่ึงออกมาเป็น
ก็มีความคมคาย ไพเราะ กินใจอย่างยิ่ง แต่ส�ำคัญที่สุดก็คือ                งานเขียนจ�ำนวนมากท่ีท่านมอบไว้ต่อท้ังสังคมและอนุชน 
ความเข้าใจลึกซ้ึงต่อชีวิตและแก่นของชีวิตอันเปิดเผยอยู ่                 รุ่นหลัง ดังปรากฏในหนังสือ สุขหรือเศร้าก็เท่านั้น ในบท
ในงานจิตรกรรม บทกวี และหนังสือเล่มต่างๆ  ล้วนเป็น                       บันทึกเกย่ี วกบั เดก็ ๆ ท่านกล่าวไวต้ อนหนง่ึ วา่
ประสบการณ์ตรงท่ีอาจารย์ได้รับจากการปฏิบัติภาวนามา
ยาวนานหลายสบิ ป ี และยงั ปฏบิ ตั อิ ยทู่ กุ ขณะในชวี ติ ประจำ� วนั            		 “เราอยากจะให้อะไรกับเด็กๆ ของโลกน ี้ ?  ยุให ้
                                                                        		 เขาแก่งแย่งผู้อื่น มักได้ ยึดติดในยศศักดิ์ และแสวงหา 
      ความลกึ ซงึ้ ตอ่ แกน่ ของชวี ติ ทถ่ี า่ ยทอดผา่ นภาษางดงาม        		 อำ� นาจเอาตวั รอดไปวนั หนง่ึ ๆ ผมจะบอกเขาถงึ ความนา่  
ในงานวรรณศลิ ปข์ องทา่ นเขมานนั ทะ จงึ เสมอดว้ ยการท�ำงาน               		 อัศจรรย์ของชีวิตและทุกส่ิงรอบๆ ตัวเขาอันเขารู้สึกได้ 
ศลิ ปะควบคไู่ ปกบั การปฏบิ ตั ธิ รรม มมี ติ ทิ รรศนะเชงิ สนุ ทรยี ภาพ   		 และรู้สึกได้อย่างเบ็ดเสร็จในทันใด การได้มาซ่ึงชีวิตและ 
อันเป็นประสบการณ์ตรงท่ีอาจารย์สัมผัส ได้ตกผลึกผ่าน                      		 การถงึ ตน้ แบบของมนั  เปน็ สง่ิ ดที สี่ ดุ  เขาควรภาคภมู แิ ละ 
กาลเวลามายาวนานและแบง่ ปนั สผู่ อู้ า่ นอยา่ งเดน่ ชดั  ดงั จะเหน็      		 เชอ่ื มน่ั ในสง่ิ ดนี  ้ี ตอ่ สโู้ ดยไมช่ งิ ชงั เพอื่ รแู้ จง้ ตวั เอง อยแู่ ละ 
ได้จากค�ำกลา่ วในงานเขียน เนอ่ื งในความงาม ทีบ่ นั ทกึ ไวว้ ่า          		 ลาจากโลกน้ไี ปอย่างงามสง่าไรค้ วามกลวั ”

      		 “ผมม่ันใจว่าความงามเป็นเร่ืองข้างในแล้วก็                            ทกุ วนั น ี้ อาจารยโ์ กวทิ –เขมานนั ทะยงั ใชช้ วี ติ อยกู่ บั การ
		 สรรค์สร้างมาสู่ด้านนอก...ความงามเป็นสิ่งที่เกิดแต ่                  ภาวนา มีค�ำคมลึกซึ้งถ่ายทอดสู่ลูกศิษย์ท่ีแวะเวียนไปหา แม้
		 มโนธาต ุ และเบอื้ งหลงั ความงามคอื ภมู ปิ ญั ญา (intuition)          ประโยคของท่านจะส้ันลงเร่ือยๆ แต่ยังคงความหมายลุ่มลึก
		 สว่ นศลิ ปะเปน็ เพยี งรปู ธรรมทต่ี ง้ั ของการเหน็ หรอื ไดย้ นิ …     ในเรื่องการแสวงหาและการภาวนา  ส�ำหรับท่านแล้ว ไม่ว่า 
                                                                        จะผ่าน-พบสิ่งใดๆ ผู้คนอาจหลงลืมหรือยกย่องให้รางวัล 
      		 “การเกิดภาพนิมิต (vision) นั้นส�ำคัญยิ่ง น่ันคือ               เหล่านั้นมิใช่ส่ิงท่ีมากระทบรุนแรงใดๆ เพราะแกนหลักของ
		 เกิดการเห็นด้วยตาใน…งานศิลปะอันเกิดแต่นิมิต เป็น                     ชีวิตก็คือส่ิงท่ีท่านกล่าวให้ลูกศิษย์ใกล้ชิดฟังอยู่เสมอว่า 
		 สิ่งเดยี วที่เกดิ กบั นักบุญนักพรตนัน่ เอง                           ท่านมีการภาวนาเปน็ หัวใจ

      		 “ผมวา่ ศลิ ปนิ กบั นกั พรตไมแ่ ตกตา่ งกนั มาก ถา้ เรา                ผลงานทั้งหมดทั้งจิตรกรรมและวรรณกรรมท่ีท่าน 
		 ยกเอาระเบียบวินัยออก เพราะว่าทั้งสองประเภทเป็น                       เขมานันทะไดส้ ร้างสรรค์มา ลว้ นคือบันทึก 
		 ผู้แสวงหาความจริงของชีวิต ในขณะที่นักพรตนั้นเอา 
		 ระเบยี บวนิ ยั ของโบสถค์ รอบแลว้ กเ็ ดนิ ทาง สว่ นศลิ ปนิ นน้ั             		 “การเจรญิ ภาวนาของคนธรรมดาคนหนงึ่  ทนี่ �ำมา 
		 ปลดทุกส่ิงทุกอย่างออก เหลือแต่ตัวเปล่าเล่าเปลือย                     		 เล่าสู่กันฟังก็เพ่ือเข้าใจต่อความหมายของความเกิดแล้ว 
		 และอาจจะถงึ ไรห้ ลกั เกณฑ ์ คน้ หาดว้ ยแสง ส ี เงา แตท่ ง้ั          		 เกดิ อกี  ความชรา ความเสอ่ื ม ความเจบ็  ความตาย ความ 
		 ค่เู ปน็ ผแู้ สวงหาความจริงผา่ นความงาม”                             		 ปรารถนาส่ิงใดไม่ได้สิ่งน้ัน ความโศกเศร้า ร�ำพัน ความ 
                                                                        		 ดน้ิ รน 
        
                                                                              		 “เกิดมาเพื่อรู้แจ้งในความหมายย่ิงต่อที่สุดแห่ง 
ฝากถึงอนชุ นรุ่นหลงั                                                    		 ทกุ ข์”   

      งานเขียนของท่านเขมานันทะมีทั้งภาคส่วนอันมุ่งตรง
ไปสู่เร่ืองของชีวิต จิตใจ ในความลึกซ้ึงของการได้เกิดมาเป็น

                                                                         ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 79
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86