Page 80 - CultureMag2015-3
P. 80

ภาพเขยี น Candle Light (พ.ศ. ๒๕๓๔)

ดงั เชน่  มหากาพยก์ ลิ กาเมศ มหาภารตยทุ ธ ์ รามายณะ ไซอว๋ิ            ลึกซ้ึงอย่างย่ิงท้ังในทางโลกย์และทางธรรม สามารถประสาน
สังข์ทองชาดก สุธนชาดก ฯลฯ เรื่องราวท่ีซ่อนอยู่ล้วน                    ขวั้ ตา่ งระหวา่ งความรกั  กามารมณ ์ และทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ข ์ ใหเ้ ปน็
เกยี่ วพนั กับการเดนิ ทางภายในจิตวิญญาณมนษุ ย ์                       ปัจจัยหนุนเอื้อต่อการขัดเกลาพัฒนาชีวิตด้านใน นั่นท�ำให้
                                                                      ชีวติ กบั ความรกั  ตีพมิ พซ์ ำ�้ มาแลว้ ร่วม ๑๐ ครั้ง 
      สว่ นผลงานนำ� เสนอแนวคดิ ผา่ นการตคี วามวรรณกรรม
คือ เดินทางไกลกับไซอิ๋ว (ตีพิมพ์ใหม่ในช่ือ ลิงจอมโจก)                       ธรรมบรรยายเล่มส�ำคัญคือ ดวงตาแห่งชีวิต บอกเล่า
ท่านพิจารณา ไซอ๋ิว จากแนวคิดการแสวงหาปรีชาญาณของ                      วิถีปฏิบัติภาวนาอันมุ่งสู่แก่นของ “ชีวิต” โดยตรง ด้วยสภาพ 
บรรพชน โดยยำ�้ หลายครงั้ วา่  ไซอว๋ิ  คอื เรอ่ื งราวของการเดนิ ทาง    “รู้” ที่ “เป็น” อยู่แล้วในตัวมนุษย์ จะมีเสมอกันท้ังปุถุชนและ
ด้านใน อันเป็นวิถีปฏิบัติภาวนาผ่านภูมิต่างๆ ของชีวิต                  พระพุทธองค์ วิธีการปฏิบัติสมาธิบนฐานการเคลื่อนไหว 
เปรียบโดยการเดินทางไกลไปดินแดนไซทีของพระถังซัมจ๋ัง                    (dynamic meditation) ที่ท่านน�ำเสนอ ได้ล่วงพ้นไปจาก 
เหง้ เจยี  โปย๊ กา่ ย และซวั เจง๋  ทต่ี อ้ งผจญกบั สถานการณร์ นุ แรง  พรมแดนของเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นกลวิธีจับ
ต่างๆ ท่านกล่าวไว้ว่า “หาใช่เหตุการณ์บนเส้นทางระหว่าง                 ความรู้สึกสดๆ ช่วยให้รู้เห็นการเคลื่อนของกาย-จิต โดยมี 
ประเทศจีนสู่อินเดียเมื่อ ๑,๐๐๐ กว่าปีไม่ กลับเป็นเส้นทาง              จุดหมายปลายทางอยู่ตรงญาณปัญญา อันเป็น “ดวงตา”
แห่งชีวิตของทุกๆ คน ท่ีกวีผู้แต่ง ไซอ๋ิว ได้โปรยเพชรพลอย              ภายใน ท่ีจะประจักษ์ต่อปรากฏการณ์ทางจิต และแลเห็น
แห่งปัญญาไวใ้ หค้ นรุ่นหลัง”                                          แนวทางในการคล่ีคลายปมปัญหาตา่ งๆ ของชวี ติ  

      งานคลาสสิกที่อธิบายแนวคิดทางสุนทรียภาพของ                             ผลงานเขียนทั้งหมดของอาจารย์โกวิท เอนกชัย 
ศลิ ปะตะวนั ออกเปรยี บเทยี บกบั ศลิ ปะตะวนั ตกไวอ้ ยา่ งลมุ่ ลกึ      หากเป็นกวีนิพนธ์มักใช้นามปากกาว่า “รุ่งอรุณ ณ สนธยา” 
ได้แก่ อันเนื่องกับทางไท ส่วน ไตร่ตรองมองหลัก น้ัน นับได้             ธรรมบรรยายและงานจติ รกรรมจะใชน้ ามปากกา “เขมานนั ทะ” 
ว่าเป็นการนำ� เสนอมติทางพุทธศาสนานิกายวัชรยานไว้อย่าง                 นอกจากน้ยี งั มี “มุนนี ันทะ” ใช้ในการเขยี นนวนิยาย สุดปลาย
ชดั เจนลกึ ซ้งึ ท่ีสุดเล่มหนงึ่ ทปี่ รากฏในภาคภาษาไทย                 แผน่ ดนิ โลก และ “ฉบั โผง” (ตน้ ควำ่� ตายหงายเปน็ ในภาษาถนิ่
                                                                      ใต้) กับ “กาลวิง” (นกกระจอก) ใช้ในงานเขียนชิ้นต่างๆ ท่ ี
      ยงั มงี านเขยี นอนั  “ตรงึ ใจ” อยา่ งยง่ิ  กค็ อื ปาฐกถาธรรม    ตพี มิ พ์ในเอกสารของมลู นธิ อิ ริยาภาซง่ึ ท่านกอ่ ตงั้ ขึ้น
ชีวิตกับความรัก ผลงานชิ้นนี้ได้รับการกล่าวขวัญว่ามีความ 

78 วัฒนธ รม
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85