Page 90 - CultureMag2015-3
P. 90

ภมู ปิ ระเทศอันดี                                                        โอกาสทร่ี ออยู่
      	
       การมีบ้านเกิดตั้งอยู่ ณ บ้านเกาะน้อย อ�ำเภอ                             ในบรรดามติ รสหายและเพอื่ นบา้ นผรู้ ว่ มขดุ หาของเกา่
ศรสี ชั นาลยั  ของ ประเสรฐิ  มโหธร ชวนใหน้ กึ ถงึ พระนางผสุ ดี           จากเตาโบราณ คงมีเพียง ประเสริฐ มโหธร เท่านั้นที่ลงมือ
เม่ือคร้ังจะต้องลงจากสวรรค์มาจุติเพ่ือเป็นพระมารดาของ                    ทดลองหาวิธีผลิตเครื่องปั้นดินเผาให้เหมือนครั้งโบราณ 
พระเวสสนั ดร ทท่ี รงขอพรขอ้ หนง่ึ จากทา้ วสกั กะกค็ อื ขอใหเ้ กดิ        เป้าหมายไม่ใช่เพ่ือท�ำของปลอมลวงว่าเป็นของเก่าเพราะ 
ในภูมิประเทศอันดี (บางส�ำนวนว่าขอให้อยู่ในปราสาทของ                      ของเดิมในยุคน้ันก็ยังหากันได้ไม่ยาก แต่ความตั้งใจหลัก 
กษัตริย์แห่งกรุงสีพี) สะท้อนถึงโลกทรรศน์ท่ีเห็นว่าสภาพ                   อยู่ทค่ี วาม “อยากรู้”
แวดล้อมของแหล่งอาศัยมีผลต่อการด�ำเนินชีวิต  เม่ือได้ถือ
กำ� เนดิ บนแผน่ ดนิ ศรสี ชั นาลยั  ภมู ปิ ระเทศทม่ี แี หลง่ ดนิ เหนยี ว        แรกทเี ดยี วนนั้  ประเสรฐิ  มโหธร คดิ วา่  เครอื่ งสงั คโลก
อันเหมาะแก่การผลิตเคร่ืองปั้นดินเผา ผืนดินอุดมด้วยม ี                    คือการท�ำเครื่องปั้นดินเผา แล้วเอามาชุบเคลือบ เม่ือต้ัง
แม่น�้ำยมไหลผ่าน ประเสริฐจึงย่อมสนใจในเครื่องสังคโลก–                    ครอบครัวในปี ๒๕๐๘ แล้วความอยากรู้ก็ยังคงติดค้างในใจ
เคร่ืองปั้นดินเผาเคลือบคุณภาพดีที่ส่งเป็นสินค้าออกไปยัง                  ตกคำ�่ ประเสรฐิ กจ็ ะนำ� ดนิ เหนยี วมาลองปน้ั  โดยผสมวสั ดตุ า่ งๆ 
ดนิ แดนตา่ งๆ แต่ครง้ั ปางบรรพ์                                          ท่ีคิดว่าน่าจะให้สีสันใกล้เคียงกับจานชามโบราณ ก่อเตาฟืน
                                                                         สุมไฟเผาหลายชั่วโมง หานำ�้ ชุบต่างๆ มาเคลือบเพราะคิดว่า 
      ประเสริฐ มโหธร เกิดเมอื่ ป ี ๒๔๘๗ เขายอ้ นใหฟ้ ังถงึ               การท�ำสังคโลกให้ได้สีเขียวน้ันเป็นเพราะน�้ำเคลือบ ลองผิด
เม่ือคร้ังวัยเยาว์ว่า ช่วยผู้ใหญ่ท�ำนาท�ำไร่ต้ังแต่ ๑๐ กว่าขวบ           ลองถกู อยหู่ ลายปี
เช่นเดียวกับชาวบ้านเกาะน้อยท่ัวไป ไถนาไปก็เจอเศษเครื่อง
สังคโลกเกล่ือนกลาดมากเข้าก็สะดุดใจและสงสัยแต่ยังคงทิ้ง                         	 “หนังสือของกรมศิลป์และอะไรต่างๆ เขาก็บอกว่า
ค้างไว้ในใจ  พอเข้าวัยหนุ่มก็ทำ� กสิกรรม ปลูกพริก ข้าวโพด                	 ใหใ้ สธ่ าตตุ วั นน้ั จะไดส้ นี นั้  ใสส่ ารตวั นจี้ ะไดส้ นี  ี้ ผมทำ� ตาม
ฯลฯ ว่างเวน้ จากการทำ� นาท�ำไรใ่ นบางช่วงยังเคยรับจ้างพาย                	 ที่หนังสือบอกทุกอย่าง ไม่เห็นได้  เขาอาจจะมีอะไรที่
เรือส่งคนข้ามฟากน้�ำยม “ไปสลึงมาสลึง” เพราะแต่เดิมถนน                    	 บอกเราไมห่ มด หรอื เราท�ำอะไรไมถ่ กู วธิ กี ไ็ มร่ เู้ หมอื นกนั
ใหญ่อยู่อีกฝั่งนำ้�   นานครั้งเพื่อนฝูงก็ชักชวนกันขุดหาของเก่า           	 เลยคิดว่าไม่เอาละแบบนั้น ลองเองเลยดีกว่า เอาใบไม้
จากเตาทุเรียงที่มีอยู่ดกด่ืนถือเป็นงานอดิเรกและรายได้เสริม               	 ก่ิงไม้ ต้นโน่นต้นนี่มาทดลอง อันไหนที่เราคิดว่าจะให้สี
แต่นั่นก็เป็นเรื่องเน่ินนานหลายสิบปีก่อนท่ีกรมศิลปากรจะ                  	 แบบท่ีเราอยากได้ลองให้หมด ดินลูกรังก็เคย หินก็เคย
เขา้ ควบคมุ และประกาศเขตอทุ ยานประวตั ศิ าสตรศ์ รสี ชั นาลยั             	 แต่ไม่ได้ผลสักอย่าง  ผมลองมากว่า ๒,๐๐๐ อย่าง
                                                                         	 ผสมนู่นผสมน่ี ลองทุกวันจนภรรยาบ่นว่าจะปั้นและเผา
       การพบ เห็น หยิบ จับ
วัตถุโบราณมากชิ้นมาตลอดชีวิต                                                                        ไปถึงไหน สุดท้ายผมเจอว่า
ท�ำให้ประเสริฐนึกสงสัยว่าถ้วย                                                                       ขี้เถ้านี่แหละ  ข้ีเถ้าไม้อย่าง
จาน ชาม ตุ๊กตา ตะเกียง แจกัน                                                                        หน่ึงได้ผลดีที่สุด เคร่ืองปั้น
พาน คนโท กาน้�ำ ฯลฯ เหล่า                                                                           ดินเผาของผมเลยไม่มีสาร
บรรดาเคร่ืองปั้นดินเผาที่มีสีและ                                                                    เ ค มี ผ ส ม   ทุ ก อ ย ่ า ง ม า จ า ก
ลวดลายแปลกตา่ งไปจากทพี่ บเหน็                                                                      ธรรมชาติทั้งนั้น ที่เห็นมันๆ
ในยุคปัจจุบัน มีความหลากหลาย                                                                        วาวๆ กไ็ ดจ้ ากการเผา ไมต่ อ้ ง
เพียงใด มีกรรมวิธีผลิตอย่างไร                                                                       มนี �้ำเคลอื บ”
เพราะหากนบั เฉพาะจานลายปลา 
กเ็ คยพบเหน็ อยเู่ กอื บรอ้ ยแบบแลว้                                                                     ระหวา่ งทกี่ ารทดลอง
                                                                                                   ดำ� เนนิ ไป กเ็ กดิ เหตไุ มค่ าดฝนั  

88 วฒั นธ รม
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95