Page 87 - CultureMag2015-3
P. 87

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานอยู่เสมอ ทำ� ให้ท่านได้รับ                       การประกาศให้ประจักษ์ถึงค�ำปรารภที่ปรากฏอยู่ในหนังสือ 
การระบุช่ือเป็นผู้สอบทานพจนานุกรมในการพิมพ์ครั้งหลังๆ                       สภุ าพบรุ ุษ ฉบับแรกทวี่ า่
และพระยาอนุมานราชธน ผู้ซึ่งเป็นประธานช�ำระปทานุกรม
ถึงกับชวนให้ครูอบไปท�ำงานที่ราชบัณฑิตยสถาน แต่ท่าน                                	 “หนังสือ สุภาพบุรุษ จะมีชีวิตอยู่สักกี่ปี ใครจะรู้
ตอบปฏิเสธเพราะคิดว่าจะขอเป็น “ฝ่ายค้าน” อยู่ข้างนอก                         		 ข้อน้ีมันเป็นอนิจจัง ส�ำมะหาอะไรแต่หนังสือ แม้คนเรา
และทา่ นกท็ ำ� หน้าท่เี ช่นวา่ นตี้ ลอดจนอายขุ องท่าน                       		 ก็ยังมิรู้วันตาย...เราต้ังต้นอย่างไร เราจะด�ำเนินการอย่าง
                                                                            		 น้ัน และจะอวสานด้วยการอย่างเดียวกัน น่ีเป็นหลัก
                                                                            		 และลักษณะอันเขม้ แข็งของหนังสอื พมิ พ์ สุภาพบรุ ษุ ”  

ชายหนมุ่ กลุม่ หน่งึ
ผรู้ ่วมตั้งต้นอาชพี นกั ประพนั ธ์

      กอ่ นทค่ี รอู บ ไชยวส ุ จะเลกิ เขยี นหนงั สอื เปน็ การถาวร
ในช่วงสุดท้ายของชีวิต ท่านยังคงเขียนถึง “ภาพถ่ายหมู่คณะ
สภุ าพบุรษุ ” ทยี่ งั ไมไ่ ด้รับกลบั คืนมาดว้ ยความหวัง 

      	 “มีสุภาพบุรุษผู้หนึ่งมาขอยืมของผมไป...ผมก็บอก
		 กำ� กบั ไปวา่  เมอ่ื เสรจ็ ธรุ ะกบั รปู นนั้ แลว้  กโ็ ปรดรบี นำ� มาคนื

		 สุภาพบุรุษนั้นก็รับค�ำ คือว่าจะรีบน�ำมาคืนโดยเร็วที่สุด

		 แล้วผมก็น่ังคอย นอนคอย ยืนคอย เดินคอย อาทิตย์

		 หนึ่งแล้วก็ยังไม่เห็นเอามาคืน...ปีหน่ึงแล้วก็ยังไม่เห็นเอา

		 มาคืน---คุณครับ...กรุณาเอามาคืนอย่างสุภาพบุรุษเถอะ

		 ครับ...กรณุ าผมเถอะ” 
      	 (ลลนา, พฤศจกิ ายน ๒๕๓๓) 

      เม่ือผู้เขียนได้เพ่งพินิจดูภาพถ่ายของคณะสุภาพบุรุษ                    อา้ งอิง
อยู่ช่ัวขณะหน่ึง ก็เข้าใจได้ว่า เหตุใดครูอบ ไชยวสุ จึงมีความ                ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. อักขระวิธีและการใช้ภาษาของฮิวเมอริสต์. 
ผูกพันอยา่ งล�ำ้ ลึกอยกู่ ับภาพถา่ ยน้ ี !                                  	 กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๘.
                                                                            ชศู กั ด ์ิ ภทั รกลุ วณชิ ย.์  ปรศิ นาขา้ งหลงั ภาพ “คณะสภุ าพบรุ ษุ ” ใน อา่ น
      ครูอบ ไชยวสุ ยืนเด่นอยู่ท่ีกลางภาพ แวดล้อมด้วย                        	 (ไม่) เอาเรื่อง. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพมิ พ์คบไฟ, ๒๕๔๖. 
มิตรสหายในวยั หนุ่มที่ร่วมท�ำงานกนั มานานนบั ปอี ยา่ งมุง่ มนั่             ตรีศิลป์ บุญขจร. คืออิสสรชน คือคนดี คือศรีบูรพา. กรุงเทพฯ : 
“เพื่อเปลี่ยนโฉมหน้าการประพันธ์และชักชวนให้รู้สึกว่าได ้                    	 โรงพมิ พ์กรงุ เทพฯ, ๒๕๔๘.
มีการตั้งต้นข้ึนแล้วส�ำหรับอาชีพของนักประพันธ์” ...แม้จะ                    สุชาติ สวัสดิ์ศรี (ผู้รวบรวม). สุภาพบุรุษ ฮิวเมอร์ริสต์. กรุงเทพฯ : 
เปน็ การยากทจ่ี ะอา่ นความหมายจากดวงตาของนกั เขยี นหนมุ่                    	 ดอกหญ้า, ๒๕๔๕.
ทง้ั  ๑๗ คนทจี่ อ้ งมองออกมาจากอดตี สผู่ พู้ นิ จิ ภาพในปจั จบุ นั          สดุ แดน วสิ ุทธลิ กั ษณ์. “คยุ กับนกั เลงภาษาเรอ่ื งพจนานกุ รม” สารคด.ี  
แต่ส�ำหรับภาพของครูอบ ไชยวสุ ที่ยืนย้ิมละไมอยู่ตรงกลาง                      	 ปที  ี่ ๖ (เมษายน ๒๕๓๓), หนา้  ๑๔๑–๑๔๙.
ภาพ แสดงฐานะผู้ร่วมก่อตั้ง “คณะสุภาพบุรุษ” ผู้ซ่ึงยืนยัน                    อ�ำนวย จั่นเงิน. “อบ ไชยวสุ (ฮิวเมอริสต์) ศิลปินแห่งชาติ ประจ�ำปี 
การเป็นนักเขียนอาชีพอิสระมาจนตลอดช่วงชีวิต ดูจะเป็น                         	 พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๙” วารสารวฒั นธรรมไทย (กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๓๐), 
                                                                            	 หนา้  ๔๓–๔๙.
                                                                            บทสัมภาษณ์ อบ ไชยวส.ุ  บคุ คลวันนี.้  (มกราคม ๒๕๓๓), หนา้  ๙๒– 
                                                                            	 ๑๐๒.

                                                                             ตุลาคม-ธนั วาคม ๒๕๕๘ 85
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92