Page 63 - CultureMag2015-3
P. 63

“ของเคม็ ” แตเ่ ดมิ  อยา่ งเชน่  เกลอื  ปลารา้  ไตปลา ออกไปจาก                    น้�ำเคยเป็นผลพลอยได้ในขั้นตอนการหมักกะปิท่ีท�ำ
ครัวของบางบา้ นในทสี่ ุด                                                    โดยเคลา้ เคย คอื กงุ้ ตวั เลก็ ๆ กบั เกลอื  ตากแดด บด แลว้ หมกั
                                                                            ในไหหรือโอ่งดินเผา กดให้แน่นและใช้ไม้ขัดไว้ไม่ให้บวมพอง
      ดงั นน้ั หากพดู อยา่ งรวบรดั  กอ็ าจกลา่ วไดว้ า่ นำ�้ ปลาเพงิ่       ข้ึนมาก่อนจะปิดฝา  ข้ันตอนระหว่างการหมักตัวเป็นกะปินี้
สถาปนาตวั ขน้ึ เปน็ เจา้ แหง่ ความเคม็ สำ� หรบั อาหารไทยยคุ ใหม่            เองจะเกิด “น�้ำเคย” เอ่อท่วมขึ้นมาให้ทยอยตักไปกินได้ และ
ไดเ้ พยี งราวครึ่งศตวรรษทผี่ า่ นมานเ้ี อง                                  ในเมื่อเป็นน้�ำที่คั้นกล่ันตัวเองจากเน้ือเคยผสมเกลือเช่นน้ ี
                                                                            จึงมีรสชาติที่เป็นประหนึ่ง “หัวเชื้อ” ชั้นดี  ในต�ำราอาหาร
      กระบวนการบรรจุน้�ำปลาท่ีบันทึกในหนังสืองานศพ                          โบราณของครัวภาคกลาง อย่างเช่น ต�ำราแม่ครัวหัวป่าก ์ ของ
นายไล่เจี๊ยง แซ่ตึ๊ง (เจ้าของและผู้ก่อตั้งโรงงานท่ังซังฮะ                   ทา่ นผหู้ ญงิ เปลย่ี น ภาสกรวงศ ์ จงึ ระบใุ หใ้ ชน้ ำ้� เคยดปี รงุ รสเคม็
หรือโรงงานน�้ำปลาทิพรส  มีนาคม ๒๕๐๗) ระบุว่า เดิมนั้น                       ในสำ� รับกบั ขา้ วหลายอย่าง
“...ใช้วิธีบรรจุไหส่งขาย  ส่วนวิธีบรรจุขวดแล้วปิดสลากสินค้า
เพ่ือแพร่จ�ำหน่ายไปถึงทุกๆ ครัวเรือนส�ำหรับในประเทศไทย                            สว่ นนำ�้ ปลานน้ั กระบวนการคอ่ นขา้ งซบั ซอ้ นขนึ้ อกี  ทง้ั
นบั วา่ นายไลเ่ จย๊ี งไดเ้ ปน็ ผรู้ เิ รม่ิ คนแรก...” ท�ำใหค้ นอาย ุ ๕๐ ปี  ยังมีความแตกต่างกันไปในแต่ละพ้ืนที่ เร่ิมตั้งแต่ล้างปลาท่ี
ขึ้นไป หวนระลึกถึงไหน้�ำปลาสีน�้ำตาล สูงราว ๑ ศอก                           ตอ้ งการเอามาทำ� นำ้� ปลา เชน่  ปลากะตกั  ปลาท ู หรอื ปลานำ�้ จดื  
ถักร้อยตอกไม้ไผ่รัดเป็นหูห้ิวแข็งแรง ปิดฝาผนึกอย่างดี                       อยา่ งปลาสรอ้ ย ปลาซวิ  ปลาเลก็ ปลานอ้ ยอน่ื ๆ แลว้ หมกั เกลอื  
ภายในเป็นน้�ำปลาดิบสีคล�้ำ รสชาติและกลิ่นในความทรงจ�ำ                       ตามสัดส่วนพอเหมาะ จากน้ันบรรจุลงโอ่งหรือบ่อซีเมนต์ 
ช่วงนนั้ เรียกได้วา่ ไม่ใชส่ ่ิงดีงามอันใด  กระทงั่ แทบเปน็ แรงขบั          โดยโรยเกลือรองด้านล่าง สลับกับปลาและทับด้วยชั้นเกลือ 
ดันให้ความอยากกินน�้ำปลาบรรจุขวดใสติดฉลากสวยงาม                             อีกครัง้  ปดิ ด้วยเสอื่  วางก้อนหินทับปิดฝา หมักทิ้งไว้นานราว
เพิ่มข้ึนเปน็ เทา่ ทวีคูณ                                                   ๑ ปีจึงตักมาผ่านกระบวนการต้มและตากแดดจนใส  ส่วน
                                                                            ปลาที่เหลือสามารถหมักน้�ำเกลือต่อได้อีก แต่คุณภาพของ
      แต่ขึ้นชื่อว่าความทรงจ�ำแล้วย่อมถูกรื้อฟื้นและนิยาม                   กลน่ิ และรสจะลดลงเปน็ น�้ำปลาชน้ั  ๒ ช้นั  ๓ 
ใหมไ่ ดเ้ สมอ  ไหนำ้� ปลารปู ทรงสามญั ยงั เรม่ิ กลบั มชี วี ติ ใหมใ่ น
ฐานะของสะสมหลังถูกวางทิ้งอยู่ใต้ถุนมาหลายทศวรรษ                                   ชุมชนริมแม่น�้ำหรือที่มีแหล่งน�้ำอย่างห้วยหนองคลอง
ส�ำมะหาอันใดกับรสนิยมการกินน�้ำปลาที่บางทีอาจก�ำลัง                         บึง แต่เดิมจึงท�ำน้�ำปลากินกันเองแทบทุกแห่ง ท�ำให้ค�ำว่า 
เหวย่ี งหมนุ กลบั ไปสจู่ ดุ เรมิ่ ตน้ ในความหมายใหมอ่ ยา่ งเงยี บๆ          “นำ�้ ปลา” ในครวั ไทยภาคกลางแทบกลายเปน็ นยิ ามความหมาย 
                                                                            ของน�้ำปรุงรสเค็ม  ถึงกับว่าเม่ือโชหยุ (ซีอ๊ิวญ่ีปุ่น) แพร่เข้า 
     ใช่หรือไม่ว่า บางครั้ง เราก็ยังรู้จักน�้ำปลา                           มานนั้  แรกเรมิ่ กย็ งั ถกู เรยี กวา่  “น้�ำปลาญปี่ นุ่ ” หรอื การทตี่ �ำรา
น้อยเกนิ ไป...                                                              กับข้าวเก่าๆ ยังเรียกซีอิ๊วขาวว่า “น�้ำปลาซีอิ๊วใส” มาจนถึง 
                                                                            เมื่อเร็วๆ นี้
      คร้ังท่ีผู้ใหญ่ในวันนี้ยังเป็นเด็กในวันโน้น หลายคน
เข้าใจว่า สิ่งที่เรียกว่า “น�้ำเคย” ก็คือน�้ำปลาน่ันเอง คร้ันพวก                  บางครั้งการได้กินน�้ำปลาแบบต่างๆ มานานจนจดจ�ำ
เขาเติบโตขึ้นบ้าง จึงรู้ว่าน�้ำเคยไม่ใช่น้�ำปลา และมันเป็นสิ่งท่ี           ยหี่ อ้ แทบไมไ่ ด ้ กท็ ำ� ใหอ้ ดสงสยั ไมไ่ ดว้ า่  วนั หนง่ึ นำ�้ ปลาจะหมด
บ่งช้ีแสดงถึงความหลากหลายในล�ำดับต้นๆ ของวัฒนธรรม                           ความสำ� คัญ กระทั่งหายไปจากครัวไทยได้หรือไม่
น้ำ� ปลา

                                                                             ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 61
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68