Page 59 - CultureMag2015-3
P. 59

โบราณคดหี ลายเรอื่ ง เชน่ วรรณคดสี มยั สโุ ขทยั เรอื่ ง เตภมู กิ ถา      หากคนไทยในปจั จบุ นั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจความหมาย และ
กล่าวไว้ในดิรัจฉานภูมิว่า “มีหญ้าแพรกเขียวมัน” ความเช่ือ                 คุณค่าที่แท้จริงของความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์และพิธี
เก่ียวกับความเป็นมงคลหรือความศักด์ิสิทธ์ิของหญ้าแพรก                     ไหว้ครู 
หลายเรอื่ งมคี วามสมั พนั ธก์ บั มหาเทพ ตลอดจนพระพทุ ธเจา้
เชน่  ส. พลายนอ้ ย (๒๕๓๗, น. ๓๓๐ และ น. ๓๒๘) เลา่ วา่ ใน                       	   “ครุ ุ คร”ุ  หมายถึง “คร”ู  คือผสู้ อน	
หนงั สอื  ทรุ คาปชู า ของ Prata Pachandra Ghosha กลา่ วถงึ                     รบั ภาระดังสิงขรแสนหนักหนา
หญ้าแพรกว่าคือผมของพระวิษณุซ่ึงหลุดออกมาตอนกวน                                 คอื ผคู้ วร “ศิษย”์  เคารพนบบชู า		
เกษียรสมุทร หญ้าแพรกจึงเป็นของศักด์ิสิทธิ์  พิธีต่างๆ                          คอื ผูใ้ หว้ ิทยาแกผ่ องชน
ของพราหมณ์นิยมใช้หญ้าแพรกหรือดอกหญ้าแพรกเป็น                                   	   “ศษิ ยม์ ีคร”ู  จึง “ไหวค้ รู” รคู้ ณุ ค่า	
เครอื่ งบชู า เชน่  ในอนิ เดยี ใชห้ ญา้ แพรกบชู าพระคเณศ ครเุ ทพ               กตัญญุตาลำ้� เลศิ ประเสริฐผล
แห่งศลิ ปวิทยาการ                                                              การไหวค้ รูเปีย่ มความหมายมิ่งมงคล		
                                                                               ปลกู สำ� นึกแกว้ กมลดลสูช่ ัย  
      หญา้ แพรกมคี ณุ สมบตั เิ ดน่ คอื ความทนทาน แมจ้ ะแหง้
เหย่ี วเพราะความรอ้ นแลง้ หรอื ถกู เหยยี บย่�ำ แตเ่ มอ่ื ไดร้ บั น�้ำก็  ขอขอบคุณ
จะหยดั ยนื ฟน้ื ตวั แตกตน้ ใหมง่ อกงาม  เฉกเชน่ นกั เรยี นทตี่ อ้ ง      รศ. ดร. สุกรี เจริญสุข คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
อดทนจึงสามารถพัฒนาสติปัญญาความรู้ของตนให้แตกฉาน                          เอ้ือเฟื้ออนญุ าตใหบ้ ันทึกภาพในงานไหว้ครขู องวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์
ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว  
                                                                         บรรณานกุ รม
      ดอกมะเขือ มีลักษณะเด่นคือก้านดอกท่ีค้อมลง                          ธรรมศักดิ์มนตรี, เจ้าพระยา. ๒๕๒๖. โคลงกลอนครูเทพ เล่ม ๒. 
เสมือนการแสดงกิริยาคารวะนอบน้อมต่อบุคคลผู้ควรเคารพ                       	 กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภา ลาดพรา้ ว.
บชู า และเมอื่ ดอกมะเขอื พฒั นาเปน็ ผล แตล่ ะผลจะมเี มลด็ นบั            ทองย้อย แสงสินชัย. ๒๕๕๗. บาลีวันละค�ำ. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส ์
ไม่ถ้วน ส่ือความหมายถึงความส�ำเร็จของผู้ศึกษาเล่าเรียน                   	 พบั ลิเคช่นั ส.์
จนมีความรู้มากเหมือนเมล็ดมะเขือ สามารถพัฒนาและ                           พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). ๒๕๕๑. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับ
เผยแพร่ความรู้นั้นให้เป็นประโยชน์กว้างขวางย่ิงข้ึนไปใน                   	 ประมวลธรรม. พิมพ์คร้ังท่ี ๑๗. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา 
สังคมไดด้ ้วย                                                            	 จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .
                                                                         มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๐๓. ค�ำนมัสการคุณา-
      ดอกเขม็  มลี กั ษณะปลายแหลมเหมอื นเขม็  สอ่ื ความหมาย              	 นุคุณ. บริษัทประกันชีวิตบูรพา จ�ำกัด พิมพ์แจกในงานทอดกฐิน 
วา่  ให้มีปญั ญาฉลาดแหลมคมเหมอื นเขม็                                    	 พระราชทาน สำ� นกั พระราชวงั  ณ วดั ทรงธรรม จงั หวดั สมทุ รปราการ. 
                                                                         	 พระนคร : โรงพิมพร์ ุ่งนคร.
      ข้าวตอก เกิดจากข้าวเปลือกท่ีน�ำมาค่ัวจนแตกออก                      วราภรณ ์ จวิ ชยั ศกั ด.์ิ  ๒๕๕๐. “การไหวค้ ร,ู ” พนิ จิ ไทยไตรภาค ตตยิ ภาค :
เปน็ ดอกขาว หมายถงึ ปญั ญาที่แตกฉานเพิ่มพนู                              	 ประวัติศาสตร์และไทยศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา 
                                                                         	 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . น. ๑๗๙–๑๘๕.
      ธปู เทยี น เปน็ เครอื่ งสกั การะทจ่ี ดั มดั ไปกบั หญา้ แพรก        ส. พลายน้อย. ๒๕๔๓. พฤกษนิยาย. พิมพ์คร้ังท่ี ๔. กทม. : บริษัท 
และดอกมะเขือ                                                             	 รวมสาสน์  (๑๙๗๗) จ�ำกัด.
                                                                         สกุ ญั ญา สจุ ฉายา. ๒๕๕๐. “ไหวค้ ร-ู ครอบคร,ู ” พนิ จิ ไทยไตรภาค ตตยิ ภาค :
ความหมายของการไหวค้ รู                                                   	 ประวัติศาสตร์และไทยศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา 
                                                                         	 จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . น. ๕๙–๖๒.
      เครื่องบูชาในพิธีไหว้ครูทุกสิ่งล้วนหาง่ายใกล้ตัว แท้ที่            สุกัญญา สุจฉายา. ๒๕๕๐. “ครูในวัฒนธรรมไทย,” พินิจไทยไตรภาค
จริงแล้วเคร่ืองบูชาเหล่านี้เป็นสัญลักษณ์ที่ส่ือภูมิปัญญา                 	 ตติยภาค : ประวัติศาสตร์และไทยศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบัน 
ความคดิ ทปี่ ระณตี  ลกึ ซงึ้  งดงาม จงึ เปน็ ทนี่ า่ เสยี ดายอยา่ งยงิ่  	 ไทยศกึ ษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. น. ๑๘๖–๑๘๘.
                                                                         อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. ๒๕๔๙. “หญ้าแพรกกับดอกมะเขือ,” พินิจไทย
                                                                         	 ไตรภาค ปฐมภาค : ภาษา. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา 
                                                                         	 จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . น. ๑๓๒–๑๓๕.
                                                                         อนุมานราชธน, พระยา. ๒๕๓๒. หมวดขนบธรรมเนียมประเพณี เล่มที่
                                                                         	 ๒–๓ เร่ืองชีวิตชาวไทยสมัยก่อน เร่ืองการศึกษาเร่ืองประเพณีไทย. 
                                                                         	 กรุงเทพฯ : มลู นธิ ิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป.

                                                                          ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64