Page 60 - CultureMag2015-3
P. 60

จั ก ร ว า ล ทั ศ น์

     เรือ่ ง : กฤช เหลือลมยั
ภาพ : จากหนังสอื  ข้าวของตา่ งๆ ๒

 (เอ้อื เฟ้อื โดย : เอนก นาวกิ มูล)

น้นำปลาโอชารส

เม่ือไม่นานมานี้เคยได้ยินคนตอบคำ� ถามส�ำคัญที่ว่า “อะไร                   กระท่ังจีน แหล่งความรู้ในอินเทอร์เน็ตอย่าง baike.
คอื อาหารไทย” อย่างชวนคิดทสี่ ดุ คร้ังหนง่ึ                         baidu.com (ศูนย์ข้อมูลอาหารแต้จ๋ิว) ก็ระบุท�ำนองว่าใน 
                                                                    ดินแดนแถบกวางตุ้ง ฮกเกี้ยน มีการผลิตน�้ำปลามายาวนาน
     คำ� ตอบทเี ลน่ ทจี รงิ นน้ั กค็ อื  “น้�ำปลาพรกิ มง้ั  ?”      หลายพันปีแล้ว ค้นพบโดยบังเอิญจากการหมักปลาแล้วได้ 
                                                                    น้�ำหมักท่ีมีรสชาติดี กลิ่นหอม สีสวย  ท่ีส�ำคัญต้องหมักจน
      นับเป็นค�ำตอบที่ท้าทายมาก แทบเรียกได้ว่าท้าทาย                เปน็ สอี ำ� พนั จงึ จะมคี ณุ ภาพดเี ลศิ  และจนี ก ็ (เชอ่ื วา่ ตน) ไดส้ ง่
กวา่ ค�ำถามด้วยซ�ำ้ ไป                                              ผ่านวัฒนธรรมน�้ำปลาน้ีลงมาทางเวียดนาม กัมพูชา ไทย
                                                                    ตลอดจนดินแดนหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในท่ีสุด
      เพราะนอกจากความรเู้ ดมิ ๆ ทว่ี า่ นำ้� ปลาเปน็ ของจำ� เปน็  
“คู่ครัวไทย” น้ัน เอาเข้าจริงน่าจะเป็นความทรงจ�ำเฉพาะ                     สว่ นผคู้ นในดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ อี่ าศยั อยู่
ไทยลมุ่ น�้ำตลอดจนไทยชายฝง่ั ทะเล (ไทยภเู ขาคงไมค่ อ่ ยรสู้ กึ      บนท่ีสูง ไม่ติดแม่น้�ำ มักผูกพันกับวัฒนธรรมเกลือมากกว่า
ด้วย) เท่านั้นแล้ว ความรู้เก่ียวกับเพื่อนบ้านอาเซียนปัจจุบัน        เน่ืองจากวัตถุดิบคือปลาหรือกุ้งมีไม่มากพอ หรือบางแห่งแม้
ก็เริ่มมีมากข้ึน จนเรารู้ได้ว่าบรรดาผู้คนรอบๆ ผืนดินแห่งนี้         มีกไ็ ม่ได้ทำ� น้ำ� ปลา แต่ท�ำ “ปลารา้ ” แทน
ต่างกร็ จู้ ักน้ำ� ปลากนั ทง้ั น้ัน
                                                                          อย่างไรก็ดีส�ำหรับในเมืองไทย อุตสาหกรรมน้�ำปลา 
      พม่าเรียกน้�ำปลาว่า “หงะปยา” ลาวเรียก “น้�ำปา”                ซงึ่ รเิ รม่ิ และสบื ทอดมาโดยตลอดในครอบครวั คนจนี ภาคกลาง
เขมรเรียก “ตึกเตรย” เวียดนามเรยี ก “เนอื้ กม้มั ”                   หลายตระกูลตั้งแต่หลังทศวรรษที่ ๒๔๖๐–๒๔๗๐ ก็ท�ำให้
                                                                    เพียงชั่วเกือบ ๑ ศตวรรษให้หลัง  น�้ำปลากลายเป็นเครื่อง 
      มาเลเซยี เรยี ก “ซอสอกิ นั ”                                  ปรุงรสเค็มท่ีต้องมีทุกครัวเรือน กระท่ังมีไม่น้อยที่ได้เบียดขับ 
      อินโดนเี ซียเรียก “เกอจ๊ับอกิ ัน”
      ฟลิ ิปปินสเ์ รยี ก “ปาตสิ ”

58 วฒั นธ รม
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65