Page 58 - CultureMag2015-3
P. 58
๖. คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา คือสามารถอธิบายเร่ืองท ่ี ดอกไมธ้ ปู เทยี นพรอ้ มพานหมากพลใู หน้ ำ� ไปถวายพระอาจารย์
ซบั ซอ้ นเขา้ ใจยากใหเ้ ขา้ ใจ และใหเ้ รยี นรเู้ รอื่ งราวทล่ี กึ ซงึ้ ขน้ึ ไป เพ่ือแสดงความเคารพขอฝากตัวเป็นศิษย์ เป็นการ “ข้ึนคร ู
ไหว้ครู” พระยาอนุมานราชธน (๒๕๓๑, น. ๙๕) อธิบายให้
๗. โน จฎฐฺ าเน นโิ ยชเย คอื ไมแ่ นะนำ� ในเรอื่ งเหลวไหล เหตุผลไว้ว่า “เพราะตามประเพณีไทย เม่ือจะเร่ิมศึกษา
หรือชกั จูงไปในทางเส่ือมเสีย เล่าเรียนวิชาไร ต้องท�ำพิธีข้ึนครูเสียก่อน การเรียนน้ันจึงจะ
ขลัง”
“ครู” กบั “ศษิ ย์”
ครูเป็นผู้มีพระคุณย่ิงต่อศิษย์ สร้างศิษย์ให้มีความรู้
“ครเู ทพ” หรอื เจา้ พระยาธรรมศกั ดมิ์ นตร ี (๒๕๒๖, น. และมีความประพฤติดี เป็นที่พึ่งของตนเอง ผู้อื่น และสังคม
๕๒) ได้แสดงความสัมพันธ์ของครูกับศิษย์ท้ังด้านบวกและ ได ้ ชาตจิ ะดำ� รงอยแู่ ละเจรญิ กา้ วหนา้ ตอ่ ไปเพราะมพี ลเมอื งท่ี
ด้านลบไว้ในบทโคลง “มิตรามิตร” อย่างน่าตรึกตรองว่า แม้ มีคุณภาพและคุณธรรม ด้วยภาระหน้าที่อันแสนหนัก
ศษิ ย ์ “มอบมโน” คอื ใจให ้ ครยู อ่ มถา่ ยทอดวชิ าความรแู้ กศ่ ษิ ย์ บทบาทของครจู ึงมคี วามส�ำคัญยง่ิ
เพื่อน�ำไปใช้เป็นอาชีพเล้ียงตัวให้เจริญก้าวหน้า แต่ถ้าความ
สัมพันธ์ของครกู ับศิษยเ์ ปน็ ไปในทางลบ ศษิ ย์ลบหลไู่ มเ่ คารพ วนั ครู-วนั ทน์ครู
คร ู การสอนยอ่ มเปน็ ไปไดย้ ากและเปลา่ ประโยชน ์ ดงั บทโคลง
กลา่ วไว้ตอนหนง่ึ วา่ วันพฤหัสบดี ถือเป็นวันครู ตามความเชื่อที่ว่า
พระพฤหัสบดีเป็นเทพฤๅษี ถอื เป็นครูของฤๅษีซ่งึ เปน็ เจา้ ของ
ครศู ษิ ย์มิตรเหมาะแท้ ธรรมดา วิชาความรู้ทั้งหลาย ส่วนเดือนท่ีนิยมจัดพิธีไหว้ครูคือเดือน
ศิษยม์ อบมโนคร ู กล่อมเกล้ยี ง ๖–๙ ถือเป็นช่วงเหมาะแก่การท�ำกิจการให้เจริญก้าวหน้า
ครมู อบศิลปวิชา อาชีพ ชกั นำ� (สุกัญญา สุจฉายา, ๒๕๕๐, น. ๖๐) พิธีไหว้ครูในโรงเรียน
ครศู ษิ ยก์ จิ ล้วนเล้ียง โลกเจรญิ นยิ มจัดขึน้ ในวันพฤหสั บดีของเดอื นมิถนุ ายน
อมติ รครศู ิษยห์ ม้าย หมนั ประโยชน์
ศษิ ย์ลบหล่คู รูเรียน ไมร่ ู้ ส่ิงของที่น�ำมาใช้ไหว้ครูเป็นเครื่องบูชาที่มีความหมาย
ครโู ปรดศิษยโ์ หดโปรด ยากอยู่ ดีและหาง่ายใกล้ตัว อาจมีดอกเข็มและข้าวตอกหรือไม่ก็ได้
ครศู ิษย์ดง่ั นผ้ี ู้ เปลา่ ผล แต่ส่ิงส�ำคัญที่ขาดไม่ได้คือ “หญ้าแพรก” และ “ดอกมะเขือ”
ดงั คำ� อธษิ ฐานในตอนทา้ ยบทไหวค้ รขู องเจา้ พระยาพระเสดจ็ -
การไหว้ครูจึงมีความส�ำคัญย่ิงในการสร้างความรัก สุเรนทราธิบดี (ม.ร.ว. เปีย มาลากุล) กล่าวขอพรด้วยการ
ความผกู พนั ของครกู บั ศษิ ย ์ ในสงั คมไทยไดจ้ ดั พธิ ไี หวค้ รเู ปน็ เปรียบเทียบเชื่อมโยงความส�ำเร็จหรือความเจริญของการ
ประเพณีสืบมาต้ังแต่โบราณ เพื่อให้ผู้ประสงค์รับการอบรม ศึกษาวิชาความรู้กับหญ้าแพรกและดอกมะเขือท่ีงอกงาม
สัง่ สอนฝากตัวเปน็ ศษิ ยแ์ ละแสดงความกตัญญกู ตเวทีตอ่ ครู เพมิ่ พนู ขึ้นอย่างรวดเรว็ ความวา่
ฝากตัวเปน็ “ศษิ ย”์ “ขอเดชะปูชะนียาธิษฐานอันนี้ จงดลบันดาลให้สติ
ปญั ญาของขา้ พเจา้ แตกประดจุ หญา้ แพรก ดอกมะเขอื แลว้ ให้
ในสมัยโบราณวัดเป็นแหล่งศึกษาส�ำคัญ มีพระสงฆ์ งอกงามเจรญิ ขน้ึ โดยเรว็ พลนั นบั แตก่ าลวนั น ้ี ใหก้ ารศกึ ษาของ
ท�ำหน้าที่ “ครู” ส่ังสอนอบรมทั้งวิชาและจริยะ บิดามารดา ข้าพเจ้าเป็นผลส�ำเร็จอันดีดุจค�ำอธิษฐานน้ีเทอญ” (อมรา
ญาติผู้ใหญ่เมื่อจะส่งบุตรหลานเข้าไปเล่าเรียน นิยมจัดหา ประสทิ ธิร์ ฐั สินธุ์, ๒๕๔๙, น. ๑๓๓)
หญ้าแพรก เป็นวัชพืชที่คนไทยรู้จักกันมาตั้งแต่
โบราณกาล ปรากฏหลักฐานในวรรณคดีและเอกสารทาง
56 วัฒนธ รม