Page 55 - CultureMag2015-3
P. 55
กอ่ นจะมาเปน็ “คร”ู ครอู าจารย์ยอ่ มอนุเคราะห์ศษิ ย์ ดังน้ี
๑. ฝกึ ฝนแนะนำ� ให้เปน็ คนดี
“ครู” มีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญในการอบรม ส่ังสอน ๒. สอนใหเ้ ขา้ ใจแจ่มแจ้ง
พฒั นา และสง่ เสรมิ ศษิ ย ์ ความหมายของค�ำวา่ “คร”ู สมั พนั ธ์ ๓. สอนศลิ ปวทิ ยาให้ส้ินเชงิ
กับบทบาทหน้าท่ี ดังค�ำอธิบายของนาวาเอก ทองย้อย ๔. ยกยอ่ งให้ปรากฏในหมู่คณะ
แสงสนิ ชยั (๒๕๕๗, น. ๒๙) กลา่ วไวอ้ ยา่ งละเอยี ดและชดั เจน ๕. สร้างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ (สอนฝึกให้รู้จักเลี้ยง
วา่ ตัวรักษาตนในอันที่จะด�ำเนินชีวิตต่อไปด้วยดี รับรองความรู้
ความประพฤตใิ หเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ในการไปประกอบอาชพี ทเี่ ปน็
“ครุ” ใช้ในภาษาไทยเป็น “ครุ” = หนัก, ส�ำคัญ และ อยู่ไดด้ ้วยดี)
“คร”ู = คร ู คำ� บาล ี “คร”ุ ในยคุ หลงั ใชเ้ ปน็ “ครุ ”ุ ซง่ึ ตรงกบั รปู
คำ� สนั สกฤต = ครู “ครู” คือมิตรแท้
“ครุ” แปลว่า ๑. อวัยวะที่กางออกได้ = ปีกนก ในพระพุทธศาสนาจัดให้ครูอาจารย์เป็นกัลยาณมิตร
๒. ใหญ่, หนา, มาก, กว้างขวาง, หนัก, น้�ำหนักบรรทุก, คือเป็นมิตรดีหรือมิตรแท้ที่ส�ำคัญประเภทหนึ่ง คนท่ีคบหา
ส�ำคัญ ๓. ครู, ผ้สู อน, ผ้แู นะน�ำ, ผ้คู วรเคารพ สมาคมดว้ ยจะเกดิ ความดงี ามและความเจรญิ ดว้ ยคณุ สมบตั ิ
อันดีงามของครูอาจารย์ สรุปได้ดังน้ี (พระธรรมปิฎก (ป. อ.
“ครุ” ท่ีหมายถึง “ครู” แปลตามรากศัพท์ว่า ๑. ผู้ ปยุตฺโต), ๒๕๕๑, น. ๒๐๔–๒๐๕)
ลอยเด่น ๒. ผู้หล่ังความรู้ไปในหมู่ศิษย์ ๓. ผู้คายความรู้ให้
หมศู่ ษิ ย์ ๑. ปิโย คือน่ารัก ท�ำให้สบายใจ สนิทสนม อยาก
เขา้ ไปปรกึ ษา
“คร”ู จงึ แปลตามความหมายทรี่ บั รไู้ ดด้ ว้ ยความรสู้ กึ วา่
ผู้รับภาระอันหนัก, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือ, ผู้ควรได้รับ ๒. ครุ คือน่าเคารพ ประพฤติสมควรแก่ฐานะ ก่อให้
การยกย่อง, ผูค้ วรใหค้ วามส�ำคัญ, ผคู้ วรแก่คา่ สูง เกดิ ความอบอนุ่ ใจ เปน็ ที่พงึ่ ได ้ และปลอดภยั
“ครู” ย่อมอนเุ คราะห์ศิษย์ ๓. ภาวนโี ย คอื นา่ ยกยอ่ ง เปน็ ผทู้ รงคณุ คอื ความรแู้ ละ
ภูมิปัญญาอย่างแท้จริง ได้ฝึกอบรมปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ
ค�ำว่า “ครู” ของคนไทยยังมีความหมายถึง “ผู้เป็น ควรเอาอย่าง ท�ำให้ระลึกถึงและเอ่ยอ้างด้วยความซาบซ้ึง
เจา้ ของความรทู้ ไี่ ดม้ า” และ “เจา้ ของความรทู้ ตี่ นไดล้ กั จำ� เอามา ภาคภมู ใิ จ
หรือเป็นต้นแบบสร้างแรงบันดาลใจ ดังท่ีเรียกกันว่า ‘ครูพัก
ลกั จำ� ’ ‘ครพู กั อกั ษร’ อนั หมายถงึ เจา้ ของกลอนหรอื งานศลิ ปะ ๔. วตฺตา จ คือรู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักช้ีแจงให้เข้าใจ รู้
ที่ตนเองไปลอกหรือจ�ำเขามาเลียนแบบ” (สุกัญญา สุจฉายา, ว่าเม่ือใดควรพูดอะไร อย่างไร คอยให้ค�ำว่ากล่าวตักเตือน
๒๕๔๓, น. ๘๑) การทคี่ รรู บั ภาระอนั หนกั ในการอบรมสง่ั สอน เป็นท่ีปรึกษาทด่ี ี
ศิษย์ ครูจึงเป็นผู้ควรเคารพบูชา ความอนุเคราะห์ที่ครูให้แก่
ศิษย์มีมากพ้นประมาณ ดังพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕. วจนกฺขโม คืออดทนต่อถ้อยค�ำ พร้อมจะรับฟัง
(๒๕๕๑, น. ๑๙๒–๑๙๓) อธบิ ายไวใ้ น พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ค�ำปรึกษา ซักถาม ค�ำเสนอ วิพากษ์วิจารณ์ อย่างอดทน
วา่ ไมเ่ บอ่ื หรือฉุนเฉียว
ตลุ าคม-ธนั วาคม ๒๕๕๘ 53