Page 51 - CultureMag2015-3
P. 51

ฤๅตี่จบั จะไม่หวนคืน

ครั้งน้ันมีกีฬาประเภทใหม่ท่ีก�ำหนดให้แข่งขัน เรียกช่ือว่า                            ตี่จับและการละเล่นพ้ืนบ้านลักษณะคล้ายคลึงกันน้ี
“กาบดั ด”้ี  มเี พยี งหกชาตทิ ล่ี งแขง่ คราวน ี้ คอื  จนี  ญปี่ นุ่ อนิ เดยี   นอกจากจะให้ความสนุกสนาน ถือเป็นการออกก�ำลังกาย 
บงั กลาเทศ ปากีสถาน และเนปาล                                                   ชิงไหวชิงพริบในเกมแล้ว ยังสามารถน�ำวิธีเล่นมาเป็นข้อคิด 
                                                                               ในการด�ำเนินชีวิตอีกด้วย น่ันคือ ถ้าเป็นฝ่ายรุกต้องผ่าน 
      เจ้าเหรียญทองเอเชียนเกมส์ในแปดคร้ังแรกคือญี่ปุ่น                         ฝง่ั ตรงขา้ มให้ได ้ ถ้าเป็นฝ่ายรับต้องจับฝา่ ยตรงขา้ มใหไ้ ด้
จากน้ันมาจีนครองต�ำแหน่งต่อเน่ืองจนถึงคร้ังท่ี ๑๗ เม่ือ
ปกี ลาย ดงั นนั้ จงึ ไมน่ า่ ขอ้ งใจวา่ ประเทศทง้ั สองนสี้ ง่ นกั กฬี าลง            แม้ชาวไทยจะยืนยันว่ารู้จักต่ีจับ รู้ค่า และเห็น
แข่งกาบัดด้ีชิงกับประเทศเอเชียใต้ทั้งสี่ ที่ถือกันโดยนัยว่าม ี                 ประโยชน์ แต่หากจะค้นหากันจริงจังว่ายังมีถิ่นที่ใดเล่นต่ีจับ
กาบัดดเี้ ป็นกีฬาประจำ� ถิ่น                                                   กันอยู่บ้าง ก็แทบจะงมเข็มในมหาสมุทร แม้แต่การจัดงาน
                                                                               แสดงวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีไทยต่างๆ ก็มักนิยมสาธิต
      แรกทีเดียว ผู้ชมกีฬานี้ต่างงุนงงและสงสัย แต่พอดู                         การละเลน่ พืน้ บ้านชนิดอืน่ ๆ มากกว่า
กีฬาชนิดน้ีได้สักพัก ชาวไทยเราต่างล้วนเห็นพ้องต้องกันว่า
กาบดั ด้ี ก็คือ “ตจ่ี ับอินเตอร์”                                                    เมอื่ ยคุ สมยั เปลย่ี นไปอยา่ งฉบั ไว กด็ เู หมอื นวา่  ทกุ วนั น ้ี
                                                                               ความนิยมชมและเชียร์กาบัดด้ีผ่านหน้าจอโทรทัศน์จะเข้ามา
      เมอ่ื ถงึ เอเชยี นเกมส ์ ครงั้ ท ี่ ๑๓ ป ี ๒๕๔๑ มปี ระเทศไทย             แทนทกี่ ารเล่นตี่จับเสยี แล้ว  
เป็นเจ้าภาพ ทีมชาติกาบัดดี้ของไทยก็ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
เปน็ ครงั้ แรก                                                                 อ้างอิง
                                                                               การกีฬาแห่งประเทศไทย. นิยามค�ำศัพท์กีฬา. กรุงเทพฯ : การกีฬาแห่ง 
      สมาคมกาบัดด้ีแห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้นเม่ือป ี                            	 ประเทศไทย, ๒๕๔๔.
๒๕๔๑ ใช้กติกาเดียวกับกาบัดดี้สากล ไทยส่งทีมชาติเข้าร่วม                        ชชั ชยั  โกมารทตั . กฬี าพนื้ เมอื งไทยภาคกลาง : ศกึ ษา และวเิ คราะหค์ วาม
แข่งขันเอเชียนเกมส์ เอเชียนอินดอร์เกมส์ และเอเชียน-                            	 เป็นมา วิธเี ลน่  และคุณค่า. กรุงเทพฯ : สถาพรบคุ ส,์  ๒๕๔๙.
บีชเกมส์เสมอมา โดยมีศูนย์ฝึกกีฬากาบัดด้ีทีมชาติไทย อยู่ท่ี                     ชัชชัย โกมารทตั , ฟอง เกิดแก้ว, ประพฒั น ์ ลักษณพิสุทธ.์ิ  กฬี าพน้ื เมอื ง
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ อ�ำเภอเมืองกระบี่                              	 ไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คุณค่าทางด้านพลศึกษา : รายงานการ
ทีมนักกีฬาหญิงเคยได้รับรางวัลสูงสุดคือเหรียญเงินจาก                            	 วิจัย. ทุนวิจัยรชั ดาภิเษกสมโภช, ๒๕๒๗.
การแขง่ ขนั กฬี าเอเชยี นเกมสค์ รง้ั ท ่ี ๑๖ และ ๑๗ ในป ี ๒๕๕๔                 สมาคมกาบัดดี้แห่งประเทศไทย. ประวัติกีฬากาบัดดี้ในประเทศไทย.
และ ๒๕๕๗ ตามล�ำดับ                                                             	 ม.ป.ท., ม.ป.ป..

      กาบัดดี้ได้รับการบรรจุในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติของ                                                          ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 49
ไทยตั้งแต่ปี ๒๕๔๓ ในปีเดียวกันน้ีได้เริ่มมีการจัดการแข่งขัน
กาบัดดี้ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย “ชิงถ้วยพระราชทาน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ขึ้นเป็น
ครง้ั แรก และจดั ตอ่ เนอ่ื งทกุ ป ี อกี สว่ นหนง่ึ ทที่ ำ� ใหก้ าบดั ดเ้ี ปน็
ท่ีรู้จักแพร่หลายคือการสนับสนุนให้โรงเรียนมัธยมต่างๆ ท่ัว
ประเทศจัดการแข่งขันกีฬาประเภทน้ี และได้รับการบรรจุให้
เป็นกฬี าเยาวชนแห่งชาตนิ ับจากป ี ๒๕๕๐

      แต่นับถึงปัจจุบัน กาบัดดี้ก็ยังไม่ได้รับการบรรจุไว้ใน
การแขง่ ขนั กฬี า “ซเี กมส”์  และยังไปไมถ่ ึงโอลมิ ปกิ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56