Page 50 - CultureMag2015-3
P. 50
กาบัดด้ี : ญาตขิ องตี่จับ
จากอกี ฝัง่ มหาสมทุ ร
๒๔๗๕ (ตอ่ มาเปลย่ี นชอ่ื เปน็ “สมาคมกฬี าไทย”) ภารกจิ หลกั แม้จุดก�ำเนิดของตี่จับในดินแดนไทยจะยังไม่ชัดเจน
คือจัดแข่งขันกีฬาพ้ืนเมือง เช่น ว่าว ตะกร้อ หมากรุก แต่ในดินแดนชมพูทวีปมีบันทึกถึงกีฬาประเภทหน่ึงเรียกช่ือ
กระบก่ี ระบอง ฯลฯ เปน็ ประจ�ำทกุ ป ี ดว้ ยหว่ งวา่ กฬี าพน้ื บา้ น ว่า “กาบัดด้”ี (Kabaddi) นยิ มเล่นกันมากว่า ๔,๐๐๐ ปแี ล้ว
จะสญู หายไป
ปราชญ์ภารตะกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการละเล่น
การรวมศูนย์อ�ำนาจรัฐในช่วงน้ัน มีไปจนถึงความ กาบัดดี้ว่าเพื่อฝึกซ้อมประลองก�ำลังในการต่อสู้ ป้องกันตัว
พยายามรวบรวม “กีฬาพื้นเมือง” จากท่ัวประเทศ โดยให้ และใช้ในกองทัพเพื่อการรบ โดยมีรูปแบบและวิธีเล่นพัฒนา
แตล่ ะจงั หวดั จดั หาชอื่ และวธิ เี ลน่ สง่ เขา้ มาสว่ นกลางเพอ่ื เรยี บ ไปตามยุคสมัยและสภาพแวดล้อมของภูมิประเทศ แผ่ขยาย
เรียงเป็นหนังสือในชื่อเดียวกัน ก่อนจะแจกจ่ายออกไปให้ ในวงกว้าง จนนับว่าเป็นเกมกีฬายอดนิยมในพ้ืนที่ซึ่งปัจจุบัน
แต่ละจังหวัดจัดการแขง่ ขนั ขึน้ นับเป็นเอเชียใต้ อันได้แก่ประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาล
บงั กลาเทศ ศรีลงั กา เป็นส�ำคัญ
เม่ือปี ๒๕๒๗ รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต
และคณะ ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกีฬาและการละเล่นพื้นเมือง หลักฐานของการละเล่นกาบัดดี้ย่อมมีปรากฏอยู่ใน
ในประเทศไทย พบว่ามีการละเล่นระหว่างปี ๒๔๖๐–๒๔๘๐ มหากาพย์ มหาภารตะ แม้กระทั่งวรรณคดีทางพุทธศาสนาก็
ราว ๖๐ กวา่ ลกั ษณะ อาท ิ กอ๊ บแกบ๊ โกง๋ เกง๋ กระเตงิ กระตอ้ ย ยงั กลา่ ววา่ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะทรงเลน่ กาบดั ดเ้ี พอื่ ความแขง็ แกรง่
กอล์ฟชาวบ้าน เก้าอี้คน ขี่ม้าชิงหมวก ขี่ม้าฟันดาบ แข่งเต่า ของรา่ งกายและจติ ใจ
ขว้างนุ่น ข่ีม้าชนกัน ขว้างราว ขว้างคิง ค้�ำสาว คุลาตีผ้า
จบั ควายสา้ ม จ้�ำบกั ยม ตไี ก ่ ตจี่ บั แนดขอนทงุ แนดนงั่ ตง้ั เต ยังมีการอธิบายเช่ือมโยงว่าการเปล่งเสียงร้องพร้อม
มอญ ตาเขย่ง เตย ตีขอบกระด้ง เต้นสากถีบครก นกคุ่ม เคลื่อนไหวร่างกายขณะเล่นกีฬานี้ คือการกลั้นลมหายใจ
ฟ้อนเชิง ปีนทะรูด ฟัก ลอย พุ่งเรือ ปลาหมอตกกระทะ เฉกเช่นเดียวกับการก�ำหนด “ปราณ” ในทางโยคะศาสตร์ ส่ง
ผเี ขา้ ขวด ฟดั ถม แมแ่ นดแยง่ เสา ย่�ำเงา ลบั ลต้ี กี ระปอ๋ ง ลกู กง๋ ผลดีต่อทง้ั กายและจิตไดเ้ สมอกัน
อีแม่ไล่ตี ไล่นก อีหย่อหนังว้อ แมวกับปลาย่าง ยิง แหล่ง
โยนหมอน ลงิ เกยี่ ลกู หนอนซอ้ น หนอนเลขแปด ไหสองนว้ิ มอื ชาวไทยเราเช่ืออย่างสนิทใจว่า “กาบัดดี้” เป็นญาติ
มดั ฟนื แยล้ งร ู ลากทางหมาก ลงิ ชงิ หลกั เสอื กนิ ววั แยง่ เมอื ง สนทิ รว่ มเชอ้ื สายกบั “ตจ่ี บั ” เมอ่ื ครงั้ กาบดั ดเ้ี ปดิ ตวั ใหช้ าวโลก
ราวเด้อ เรือลูกโป่ง ลูกฉุด วิ่งป้อย อ้าว้าย อ้ายโม่ง อุ่ย ประจักษ์ในกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ ๑๑ เช่นเดียวกับชาวลาว
เป็นตน้ เชอื่ วา่ “อ/ี่ Eu” และชาวมาเลเซยี เชอื่ วา่ “ชดิ กู ดู ู /Chi-du-ku-du”
กเ็ ปน็ ญาตริ ่วมเช้ือสายกาบดั ดเี้ หมอื นกนั
งานวิจัยนี้เสนอว่าการเล่นเกมและกีฬาพ้ืนเมืองไทย
ซบเซาลงเม่ือเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ หลังจากสงคราม กาบดั ดี้ : กฬี าสากล
สงบ ผู้คนหันไปสนใจอารยธรรมของต่างประเทศท่ีหลั่งไหล
เข้ามารวมถึงเกมกีฬาแบบสากล การละเล่นพ้ืนเมืองจึง การแขง่ ขนั กฬี าเอเชยี นเกมสร์ ะหวา่ งประเทศในเอเชยี
หลงเหลือตกคา้ งเลน่ กันอยู่เฉพาะในชนบทบางถิน่ ดว้ ยกนั ครงั้ แรกจดั ขนึ้ ทกี่ รงุ เดล ี ประเทศอนิ เดยี เมอ่ื ป ี ๒๔๙๔
มีชาติที่เข้าร่วม ๑๑ ประเทศ จากนั้นหมุนเวียนไปทุก ๔ ปี
นี่อาจเป็นสาเหตุหน่ึงที่ท�ำให้การละเล่น “ตี่จับ” ผา่ นมาจนถงึ ครงั้ ท ่ี ๑๑ มปี ระเทศจนี เปน็ เจา้ ภาพในป ี ๒๕๓๓
หลงเหลอื อยู่เพียงกลมุ่ เลก็ ๆ
48 วัฒนธ รม