Page 74 - CultureMag2015-3
P. 74
ผลจากการขึน้ ทะเบยี นมรดก
ภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
การที่ภาษากะซองได้รับการพิจารณาข้ึนทะเบียน คะซมึ้ กะซ่องกา้ ดน่อม่ดโฮย กึรินเทดโวยโมดคลนิ แฮง
มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ สาขาภาษา ประจ�ำปี กรึ ินย่ิบญา่ ยยิบร่อง อึแฮนคล่องกะแน่งแฮง
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ นอกจากจะสรา้ งความภาคภมู ใิ จแลว้ ยงั บอ้ แฮงญา่ งอีนร่องอนี แฮงเจวซอนโมดคลินเคนชู
มีส่วนกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงการอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน ปาซากะซ่องเปน็ ปาซาซรุก ไอ้ปีย้ ิบคลกุ แฮงต้องซู้
มากย่ิงขึ้น และมีส่วนท�ำให้ชุมชนและภาษากะซองเป็นท่ีรู้จัก ปวกแฮงเปน็ คซ้มึ กะซ่อง แฮงกอฮตอฺ้ งกอฮเคร้เลว
มากขน้ึ ทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละระดบั จงั หวดั แกไ้ ขความเขา้ ใจผดิ ปะซากะซอ่ งเปน็ ปาซามญิ แฮงตองกฮึ รนิ จอ่ ยซงวนออน
ของสงั คมวงกวา้ งวา่ ภาษาของชมุ ชนนคี้ อื “ภาษากะซอง” ไมใ่ ช่
ภาษาชอง และท่ีส�ำคัญคือมีเพียงชุมชนเดียวในประเทศไทย คำ� แปล
ท่ียังใช้ภาษาน้ีอยู่ สื่อมวลชนต่างให้ความสนใจถ่ายทอด
เรอื่ งราว สถาบนั การศกึ ษาเรม่ิ มโี ครงการศกึ ษาภาษาของชมุ ชน คนกะซองใกล้จะหมดแล้ว ลกุ ข้ึนเถดิ หนาพ่นี อ้ ง
กะซองบ้านคลองแสงมากยิ่งข้ึน หน่วยงานในท้องถ่ินก็ให้
ความส�ำคัญ โดยเชิญนักวิจัยท้องถ่ินไปบรรยายสาธิตภาษา ลกุ ขนึ้ มาชว่ ยพูดช่วยร้อง ให้มนั คล่องปากเรา
และวฒั นธรรมกะซองตามงานสำ� คัญของจงั หวัด
พวกเราพูดไดร้ ้องได้ เราไปสอนพน่ี อ้ งลูกหลาน
เหนือสิ่งอื่นใด ก�ำลังใจท่ีชาวกะซองได้รับจากการ
ข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติจะเป็น ภาษากะซองเปน็ ภาษาพ้ืนบ้าน ใครมาไล่เราต้องสู้
อีกหนึ่งพลังส�ำคัญท่ีท�ำให้ลูกหลานชาวกะซองลุกข้ึนรักษา
ภาษาของตนเองเหมือนดังบทกวีของชาวกะซองทีก่ ลา่ วว่า พวกเราเป็นคนกะซอง เราไมก่ ลัวไมอ่ ายใคร
ภาษากะซองเปน็ ภาษาแม ่ เราตอ้ งลกุ ขน้ึ ชว่ ยกนั สงวนไว้
พธิ สี ะเดาะเคราะห์
72 วฒั นธ รม