Page 72 - CultureMag2015-3
P. 72

นกั วิจยั ชาวกะซองร่วมเก็บขอ้ มลู กับนกั วิจยั จากภายนอก

วกิ ฤตการณท์ างภาษา
ส่กู ารแก้ปัญหาจากฐานชมุ ชน

      ปัจจุบันมีผู้พูดภาษากะซองที่ยังส่ือสารได้ดีไม่ถึง ๑๐                         ในป ี ๒๕๕๖ นางสาวเสวย เอกนกิ ร หนงึ่ ในคณะวจิ ยั
คน ซึ่งล้วนแต่เป็นผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มท่ีจะลดลงเร่ือยๆ                    ชมุ ชนไดช้ กั ชวนลกู หลานชาวกะซองใหร้ ว่ มกนั ฟน้ื ฟภู าษาของ
ส่วนในวัยกลางคนจนถึงรุ่นเยาว์แม้จะเข้าใจภาษาของตนอยู่                        ตนเองอกี ครง้ั ในโครงการ “กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื สบื ตอ่ ภาษา
บ้างแตไ่ ม่สามารถสือ่ สารเปน็ ประโยคยาวๆ ได้                                 กะซองโดยคนกะซองรุ่นสุดท้าย” ซึ่งมีแนวคิดส�ำคัญเพ่ือเพิ่ม
                                                                             จำ� นวนผพู้ ดู ภาษากะซองทง้ั ในกลมุ่ ผใู้ หญแ่ ละเยาวชน โดยให้
      ในปี ๒๕๔๔ ชุมชนชาวกะซองบ้านคลองแสงได้                                  ไปเรียนภาษากับครูภูมิปัญญาตามบ้านในวันหยุด ฝึกทักษะ
พยายามฟน้ื ฟภู าษาและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ของตนเองโดยผา่ น                  ฟัง-พูดอย่างเข้มข้นกับผู้สูงอายุที่ยังสามารถส่ือสารภาษา
การท�ำโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่น มีพ่ีเลี้ยงจากหน่วยงานทาง                    กะซองได้ดี และพัฒนาไปสู่การเรียนภาษากะซองในชีวิต
วิชาการช่วยเหลือด้านกระบวนการวิจัย โครงการวิจัยแรกคือ                        ประจ�ำวัน  การเรียนภาษาในกิจกรรมทางวัฒนธรรม เพื่อให้
“แนวทางการพลิกฟื้นภาษากะซองเพ่ือสืบทอดให้คนรุ่นหลัง                          ผู้เรียนมีทักษะในการท่ีจะสื่อสารภาษากะซองได้ดีที่สุดใน
อย่างยั่งยืน บ้านคลองแสง ต. ด่านชุมพล อ. บ่อไร่ จ. ตราด”                     ทกุ สถานการณ์  
มนี ายสนั ต ิ เกตถุ กึ  เปน็ หวั หนา้ นกั วจิ ยั  และมปี า้ สมศร ี เกตถุ กึ
ปราชญผ์ รู้ ภู้ าษากะซองเปน็ หวั เรยี่ วหวั แรงส�ำคญั ในการทำ� งาน                 ผู้รู้ภาษากะซองที่มีหลงเหลืออยู่ไม่มากนักต่างพอใจ
เกดิ ผลเปน็ การสรา้ งระบบตวั เขยี นภาษากะซองดว้ ยตวั อกั ษรไทย               มากที่เห็นลูกหลานสนใจกระตือรือร้นและพยายามพูดคุย
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการบันทึกภูมิปัญญาท้องถ่ิน                     เป็นภาษากะซอง เกิดการเช่ือมความสัมพันธ์ระหว่างคนใน
และภาษากะซองอย่างเป็นระบบ                                                    ครอบครัวและชุมชนมากข้ึนผ่านการเรียนภาษาท้องถ่ินที่ช่วง
                                                                             เวลาหน่ึงแทบจะไม่มีใครใช้ส่ือสาร นับเป็นการพลิกฟื้นเสียง
      เมื่อมีระบบตัวเขียนแล้ว จึงเกิดการต่อยอดในการ                          ภาษากะซองที่ก�ำลังจะเลือนหายไปจากชุมชนให้มีชีวิตข้ึนมา
เขยี นบนั ทกึ นทิ าน เรอ่ื งเลา่  องคค์ วามรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาทส่ี ำ� คญั    เพือ่ สืบต่อไปสอู่ นาคต
ตลอดจนการแต่งเพลง และเขียนหลักสูตร-แผนการสอน
ภาษากะซอง เพื่อสอนในโรงเรียนประจ�ำชุมชน แต่นโยบาย
การสอนยังไม่ราบร่ืนเท่าท่ีควร  จ�ำนวนผู้พูดภาษากะซองจึง
ยังเพิม่ ข้ึนไม่มากนกั  

70 วัฒนธ รม
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77