Page 69 - CultureMag2015-3
P. 69

ภ า ษ า แ ล ะ ห นั ง สื อ

                                                                                            เร่อื ง : ณัฐมน โรจนกุล, รณกร รกั ษ์วงศ์
                                                                                          ภาพ : สถาบันวจิ ัยภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย

                                                                                                    มหาวทิ ยาลัยมหิดล

ภาษากะซอง 

: เสยี งของคนกลมุ่ สุดท้ายแห่งดนิ แดนตะวนั ออก	

กะซอง เป็นท้ังชื่อเรียกภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ซ่ึงมีถิ่นฐาน   ปะเดา ต�ำบลด่านชุมพล อ�ำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด  ชาว
อยู่ท่ีอ�ำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด บริเวณนี้เป็นที่ราบเชิงเขา   กะซองสร้างครัวเรือนอยู่กระจัดกระจาย ปะปนกับคนไทย
ของแนวเทือกเขาบรรทัดท่ีเช่ือมต่อระหว่างชายแดนไทย-            และคนกลุ่มอ่ืนๆ เช่น ชาวลาวอีสาน ชาวจีน และชาวเขมร
กัมพูชา และภาคตะวันออกของประเทศไทย เชื่อกันว่าเป็น           ท่ีเข้ามาตั้งรกรากทีหลัง มีอาชีพท�ำเกษตรกรรม อาทิ
พื้นท่ีดั้งเดิมของกลุ่มชนท่ีพูดภาษากะซอง ซัมเร รวมท้ังชอง    ปลกู ยางพารา ท�ำไรส่ บั ปะรด และสวนผลไม ้ ตลอดจนทำ� นา
ในจงั หวัดจนั ทบุรี                                          เพื่อบริโภคในครัวเรือนและไว้ขายบ้าง นอกจากนี้ยังมีรายได้
                                                             เสรมิ จากการเกบ็ ของปา่ ในช่วงฤดูแลง้  
      ค�ำว่า “กะซอง” สันนิษฐานว่ามีความหมายว่า “คน”
เดิมทีกะซองเป็นที่รู้จักของคนภายนอกว่า “ชองจังหวัดตราด             ชาวกะซองมีการแต่งงานกับคนนอกกลุ่มจึงเกิดการ
(Chawng of Krat)” (Isarangura, 1935) ดว้ ยมคี วามคลา้ ยคลงึ  ผสมผสานระหวา่ งเชอ้ื สายและวฒั นธรรมตามแบบไทย สง่ ผล
ของชื่อและความใกล้เคียงของภาษา ทำ� ให้เข้าใจวา่ เปน็ ภาษา    ให้ประเพณีด้ังเดิมหลายอย่างเลือนหาย ท่ียังคงปฏิบัติกันอยู่
เดียวกัน  ชาวกะซองบางคนก็เรียกตัวเองว่า “คนชอง”              ตามเดมิ เห็นจะมีพธิ แี ต่งงาน การบชู าผีเรอื นหรอื ผีบรรพบรุ ษุ
“พูดชอง” ด้วยเหมือนกัน เน่ืองจากมีกลุ่มค�ำศัพท์คล้ายกัน      ส่วนการเล่นผีแม่มดเชิญผีมาเข้าร่างทรงเพื่อช่วยให้คนป่วย
แต่ภาษา วัฒนธรรม และส�ำนกึ นั้นเป็นคนละกลุ่ม                 หายเจ็บไข้ปัจจุบันไม่มีแล้วด้วยหายไปพร้อมกับผู้เฒ่าผู้แก่
                                                             ชาวกะซองกลุ่มสุดท้าย
      ชาวกะซองในปัจจุบันส่วนใหญ่อาศัยในพื้นท่ีหมู่บ้าน
คลองแสง บ้านด่านชุมพล และมีจ�ำนวนเล็กน้อยอยู่ท่ีบ้าน

                                                              กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 67
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74