Page 71 - CultureMag2015-3
P. 71
ชาวกะซอง
อัตลกั ษณภ์ าษากะซอง
ภาษากะซองจดั อยใู่ นตระกลู ออสโตรเอเชยี ตกิ (มอญ– ลักษณะส�ำคัญอีกประการหนึ่ง คือการเพ่ิมหน่วยค�ำ
เขมร) กลมุ่ เพยี รกิ จากการส�ำรวจของนกั ภาษาศาสตรพ์ บวา่ เติมซ่ึงเป็นลักษณะส�ำคัญของภาษากลุ่มมอญ-เขมร ตัวอย่าง
ภาษากลุ่มน้ีอยู่ในภาวะวิกฤตระดับรุนแรงเกือบท้ังหมด โดย คู่ค�ำท่เี พ่มิ หนว่ ยเตมิ หน้า เชน่
ภาษากะซองจัดอยู่ในสถานการณ์รุนแรงระดับ ๘ ซึ่งเป็นข้ัน
สุดท้ายทีก่ ำ� ลังจะสูญหายไป “คนึ ” แปลวา่ ตัวเมยี กับ “ส�ำคึน” แปลวา่ ผหู้ ญิง
“ฮอ้ บ” แปลวา่ กนิ (ขา้ ว) กบั “นะฮอ้ บ” แปลวา่ ของกนิ
อั ต ลั ก ษ ณ ์ ท่ี ส� ำ คั ญ ข อ ง ภ า ษ า ก ะ ซ อ ง คื อ มี เ สี ย ง (อาหาร)
พยัญชนะต้น ๒๑ หน่วยเสียง พยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) ๑๒ ภาษากะซองใช้การเรียงค�ำในประโยคแบบ ประธาน -
หน่วยเสียง เสียงตัวสะกดท่ีแสดงลักษณะเด่นของภาษาน้ีคือ กิริยา - กรรม (S - V- O) เช่น
เสียง <จ> <ญ> <ล> และ <ฮ> ในส่วนของเสียงสระนั้น ฮ้อบกลง ฮือ นาน <กิน-ข้าว-หรือ-ยัง> แปลว่า
มสี ระเดย่ี ว ๑๗ หนว่ ยเสยี ง และมสี ระประสมหนว่ ยเสยี งเดยี ว กนิ ขา้ วหรือยัง
คือ เสียงสระ <อัว> และในปัจจุบันภาษากะซองกำ� ลังอยู่ใน อัยปี่ ท่อ จาม แปจ <ใคร-ท�ำ-ชาม-แตก> แปลว่า
ชว่ งเปลยี่ นแปลงไปสภู่ าษามวี รรณยกุ ตจ์ ากอทิ ธพิ ลภาษาไทย ใครท�ำชามแตก
อ า วั น ทู่ นั ฮ < วั น น้ี - ร ้ อ น - ม า ก > แ ป ล ว ่ า วั น น้ี
ในด้านการใช้ศัพท์ ภาษากะซองมีค�ำศัพท์เฉพาะของ รอ้ นมาก เป็นต้น
กลมุ่ ตวั เองดงั เชน่ “ระแนง” แปลวา่ ปาก “ครนั ” แปลวา่ นอ่ ง
“คดั ” แปลวา่ กดั “ตกั ” แปลวา่ ใหญ ่ “มาล” แปลวา่ ไร ่ เปน็ ตน้
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 69