Page 50 - CultureMag2015-3
P. 50

เม่ือลองสอบค้นเอกสารจากอดีต พบข้อความใน                                แรกมีและพ้นื ท่กี ารเลน่
วชิรญาณวิเศษ เล่ม ๙ แผ่นท ี่ ๔๖ (วนั พฤหัศบดที  ี่ ๑๓ เดอื น                  งกู ินหาง
กนั ยายน รตั นโกสนิ ทรศก ๑๑๓ - ตรงกบั  พ.ศ. ๒๔๓๘) กลา่ วถงึ  
“งูกินหาง” ในเร่ือง “บั้งไฟ” ว่ามีการต้ังขบวนเดินเรียงกันไป                          กระทรวงวัฒนธรรมประกาศขึ้นทะเบียนงูกินหาง
“อยา่ งเด็กเลน่ งกู นิ หาง” ดงั รายละเอียดว่า                                 โดยแจกแจงวธิ กี ารเลน่ งกู นิ หางไวเ้ ปน็ สามลกั ษณะ ไดแ้ ก ่ กนิ
                                                                              หางตัวเอง กินหางตัวอ่ืน และแม่งูกินลูกงู น่าเสียดายท่ี
       “ฝา่ ยผเู้ ปนแขกนน้ั  กน็ ดั หมายเวลา มารวมกนั พรอ้ ม                  เอกสารเผยแพร่ให้รายละเอียดวิธีเล่นลักษณะท่ี ๒ และ ๓
แลว้  กน็ ำ� กนั ออกเดนิ เรยี งๆ เปนลำ� ดบั กนั ไป เหมอื นอยา่ งเดก็          ด้วยข้อความเดียวกัน แต่ก็พออนุมานได้ว่า การละเล่นที่
เลน่ งกู นิ หางฉนนั้  คอื มคี นหามกลองตไี ปขา้ งนา่ คหู่ นง่ึ  กบั คน         พบเห็นและทีร่ จู้ กั กันท่วั ไปนั้นตรงกบั ลกั ษณะท ่ี ๒ 
ตฆี อ้ งอกิ คนหนง่ึ  แลว้ กถ็ งึ พระแกๆ่  เปนลำ� ดบั ลงไปจนถงึ เณร
แล้ว ถึงผู้ชายแก่ผู้หญิงแก่ๆ ผู้สาว แล้วจ่ึงถึงพวกชายหนุ่มๆ                          ณ ขณะน้ี หลักฐานที่ยืนยันได้ชัดเจนก็คือ การ 
แลเด็กๆ เดินตามกันเนื่องมา บางพวกที่มีแคนก็เป่าแคนร้อง                        ละเล่นงูกินหางมีมาก่อนปี ๒๔๓๘  ส่วนพ้ืนที่การเล่น 
รำ� ท�ำเพลง เลน่ เอกิ เกรกิ มาตามทาง”
                                                                              พบทั้งในและนอกประเทศไทย    

       หลกั ฐานขา้ งตน้ ยนื ยนั ไดแ้ นช่ ดั วา่  งกู นิ หางเปน็ ทร่ี บั ร ู้  อา้ งอิง
กนั ในแงก่ ารละเลน่ ของเดก็ มาชา้ นาน (ปจั จบุ นั  สารานกุ รมไทย              “การละเล่นของไทย” ใน สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๑๓. 
ส�ำหรับเยาวชนฯ จัดให้เป็น “การละเล่นของเด็กและผู้ใหญ่”)                       	 กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราช- 
ท่ีน่าสังเกตก็คือรายละเอียดของขบวนแห่บั้งไฟดูจะละม้าย                         	 ประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว.
ความหมายตามลักษณะของสำ� นวนอยไู่ ม่นอ้ ย                                      นรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ,์  สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยา. ประชมุ บทละครดกึ ดำ� บรรพ์ 
                                                                              	 ฉบบั บริบรณู ์. พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๗. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๒๘. 
       หากเม่ือลองสืบค้นถึงที่มาของส�ำนวนงูกินหาง                             บรรจบ พนั ธเุ มธา. กาเลหมา่ นไต กรงุ เทพฯ : สมาคมภาษาและหนงั สอื , 
ออกจะน่าแปลกใจอยู่บ้างที่เมื่อครั้งขุนเศรษฐบุตรสิริสาร                        	 ๒๕๐๕.  
(แช เศรษฐบตุ ร) บรรณาธกิ ารหนงั สอื พมิ พ ์นกั เรยี น และ ตทู้ อง             ______________. จดหมายถงึ แดงตอ้ ย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ตรสี าร, 
สมยั ป ี ๒๔๖๗ คดิ รวบรวมสำ� นวนเกา่ ๆ ไว ้ แลว้ มอบหมายให้                    	 ๒๕๐๗.  
ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) เขียนค�ำอธิบายและ                         ______________. ไปสอบค�ำไทย. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร ่
ยกตวั อยา่ งจากเอกสารเกา่ ทม่ี สี �ำนวนไทยอย ู่ โดยสง่ ใหพ้ ระยา              	 เอกลักษณ์ของไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๒๒.  
อปุ กิตศลิ ปสารช่วยอ่านตรวจ  การรวบรวมครัง้ นนั้ ไม่พบการ                     ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. 
บนั ทกึ ถงึ สำ� นวน “งกู นิ หาง” แตอ่ ยา่ งใด  ตอ่ มาเมอ่ื ขนุ วจิ ติ รฯ      	 กรุงเทพฯ : ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๖. 
เขียนหนังสือเรื่อง เด็กคลองบางหลวง ก็ได้บันทึกไว้ว่าเป็น                      วิจิตรมาตรา, ขุน. ส�ำนวนไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลย่ี 
การละเลน่ อยา่ งหนงึ่  โดยยกคำ� รอ้ งโตต้ อบจากละครดกึ ดำ� บรรพ์              	 (ไทย-ญ่ปี นุ่ ). ๒๕๓๘.
มาไวพ้ อเป็นตวั อยา่ ง                                                        อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, บรรณาธิการ. ลายพระหัตถ์ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ 
                                                                              	 กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประทานพระพินิจวรรณการ เร่ือง 
                                                                              	 ตรวจช�ำระหนังสือพระอภัยมณี และประชุมบทละครดึกด�ำบรรพ์. 
                                                                              	 กรุงเทพฯ : ศูนย์สยามทรรศนศ์ กึ ษา, ๒๕๕๕.

48 วฒั นธ รม
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55