Page 54 - CultureMag2015-3
P. 54
สารทเดือน ๑๐ ถือเป็นงานบุญใหญ่ท่ีสุดในรอบปีของ ท�ำกันเองในชุมชนด้วยวัสดุง่ายๆ ข้ึนโครงด้วยไม้
พุทธศาสนิกชนในภาคใต้ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าทำ� กัน
มาตั้งแต่เม่ือใดและเริ่มขึ้นที่ไหน รู้แต่ว่าเป็นประเพณีท่ีมีมา ระก�ำหรือไม้เนื้ออ่อนน้�ำหนักเบา ปิดประดับด้วยกระดาษสี
ช้านานและท�ำกันท่ัวภาคใต้ โดยที่เมืองนครศรีธรรมราชเป็น
ที่รู้จักและลือเล่ืองมากที่สุด ทั้งนี้อาจเน่ืองจากเมืองนครฯ แกะลวดลายสอดสลับสี ตกแต่งด้วยร้ิวกระดาษ ลูกปัด และ
เคยเป็นอาณาจักรท่ีรุ่งเรืองมาแต่อดีตและเป็นแหล่งส�ำคัญ
ของพุทธศาสนาซึ่งรับมาจากอินเดีย รวมทั้งการทำ� บุญสารท ดอกไมป้ ระดษิ ฐ ์ ฯลฯ อยา่ งวจิ ติ รแพรวพราว เปน็ ประดษิ ฐกรรม
เดือน ๑๐
ทเี่ กดิ จากการรว่ มแรงรว่ มใจของคนทงั้ ชมุ ชน ทส่ี บื ทอดกนั มา
สารท เป็นค�ำบาลี อินเดียใช้เรียกฤดูใบไม้ร่วง และ
หนง่ึ ในวถิ ปี ฏบิ ตั ใิ นฤดสู ารทของพวกพราหมณใ์ นอนิ เดยี ตงั้ แต่ แต่โบราณกาลถงึ คนรนุ่ นี้
ยุคก่อนพุทธกาลคือประเพณีเปตพลี แม้เม่ือหันมานับถือ
พุทธศาสนาในยุคพุทธกาลแล้วก็ยังคงปฏิบัติประเพณีนี้อยู ่ เป็นธรรมเนียมชีวิตสืบต่อกันมายาวนาน ถึงวันงาน
พระพุทธองค์ทรงเห็นว่าเป็นประเพณีที่แสดงออกถึงความ
กตัญญูกตเวทีและยังความสุขแก่ผู้ปฏิบัติ จึงทรงอนุญาตให้ บญุ เดอื น ๑๐ ลกู หลานจะอยใู่ กลไ้ กลในถน่ิ ไหนกต็ อ้ งกลบั มา
ประกอบประเพณีนี้ต่อไป การท�ำบุญสารทเดือน ๑๐ ของ
ชาวพุทธจึงเกิดข้ึนและถือปฏิบัติสืบต่อมาจนปัจจุบัน บา้ นเพอื่ ไปท�ำบญุ ทวี่ ดั กบั คนในครอบครวั เตรยี มการตอ้ นรบั
ตามคติความเช่ือว่าบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปเป็นเปรต ดวงวญิ ญาณผจู้ ากไปอยา่ งพร้อมพรักและประณีตทสี่ ดุ
อยใู่ นนรกจะไดร้ บั อนญุ าตจากพญายมใหก้ ลบั มาหาลกู หลาน
ญาติพ่ีน้องของตนได้ปีละครั้ง ในช่วงวันแรม ๑ ค่�ำ ถึงแรม ขนมส่ีอย่างหลักที่จะน�ำไปวัด ล้วนส่ือความหมาย
๑๕ ค่�ำ เดือน ๑๐ พุทธศาสนิกชนชาวปักษ์ใต้จึงจัดให้มีการ
ท�ำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ดวงวิญญาณปู่ย่าตายายที่จากไป ขนมลาโดยนยั ถึงผู้รบั เส้นสายของแป้งข้าวกับน�้ำตาลท่ีผ่าน
อยู่ในปรโลกอย่างเต็มกำ� ลัง
กรรมวิธีการโรยเส้นทอดสานกันเป็นตาข่าย สื่อความหมาย
ประกอบกับช่วงเดือน ๑๐ เป็นเวลาที่พืชผลเกษตร
ก�ำลังให้ผลผลิต การท�ำบุญด้วยการน�ำพืชผลไปถวาย แทนแพรพรรณเคร่ืองนุ่งห่ม และอีกนัยหน่ึงว่าวิญญาณ
พระสงฆ์เพ่ือเป็นสิริมงคลแก่ตนและครอบครัว ยังนับเป็น
โอกาสในการได้แสดงความช่ืนชมยินดีกับผลิตผลทางการ บรรพบรุ ษุ ทไ่ี ปเปน็ เปรตนนั้ ปากเลก็ เทา่ รเู ขม็ ไมอ่ าจกนิ อาหาร
เกษตร และเป็นการอ�ำนวยประโยชน์ในด้านปัจจัยอาหารแก่
พระภิกษุสงฆ์ ซ่ึงในช่วงฤดูฝนพระไม่สามารถออกบิณฑบาต ขนมพองเปน็ ชิน้ เป็นคำ� ได ้ ก็จะได้กนิ ขนมทเี่ ป็นเส้นเล็กๆ แบบน้ี
ไดส้ ะดวก ทำ� จากขา้ วเหนยี วนงึ่ กดลงแมพ่ มิ พ์
รูปวงกลม รูปพระจันทร์เสี้ยว รูปข้าวหลามตัด ฯลฯ ตากจน
โดยในแต่ละถ่ินจะมีรูปแบบการจัดส�ำรับไปท�ำบุญ
ทีว่ ัดในแบบของตนที่แตกต่างกันไป แหง้ กรงั แลว้ ทอดในนำ�้ มนั รอ้ นๆ จนพองฟแู ตย่ งั คงรปู เดมิ วา่
ในแถบกระบ่ีและพ้ืนที่ต่อแดนโดยรอบ มีการท�ำ ขนมบ้าจะเปน็ เสมอื นแพทจี่ ะพาวญิ ญาณบรรพบรุ ษุ ขา้ มหว้ งมหรรณพ
ส�ำรับใส่ของไปท�ำบุญที่วัดที่เป็นรูปแบบเฉพาะของท้องถิ่น ใช้แป้งข้าวเหนียวคลุกกับน�้ำเชื่อมปั้น
ซึง่ เรยี กกนั ว่า “จาด” สำ� หรบั หามแหไ่ ปท�ำบุญในวนั งาน เป็นรูปแบนๆ เหมือนลูกสะบ้า ทอดแล้วมีน้�ำมันเกาะเย้ิมล่ืน
เปน็ มนั วา่ ใหเ้ ปน็ ลกู สะบา้ ทบ่ี รรพชนในปรโลกจะไดใ้ ชเ้ ลน่ กนั
ขนมดีซ�ำในวันสงกรานต์ วิธีท�ำคล้ายขนมบ้า เพียงแต่ใช ้
แป้งข้าวเจ้า และเม่ือปั้นเป็นลูกแล้วกดกลางให้ทะลุเป็นวง
เหมอื นกำ� ไล ทอดในนำ�้ มนั ใหมๆ่ พอแปง้ สกุ จะพองและลอย
ข้ึน เป็นสีขาว เหลือง ไปจนถึงสีนำ้� ตาลอ่อนๆ เหมือนเคร่ือง
ประดบั หลากสีส�ำหรบั ผู้มารบั ส่วนบุญ
รวมทั้งขนมทอดมัน ขนมจู้จุน ฯลฯ ท้ังหลายน้ีล้วน
เปน็ ขนมของเทศกาลบุญเดือน ๑๐
โดยทั้งหมดจะรวมกับผัก ผลไม้ ที่สามารถเก็บไว้
ประกอบอาหารได้นานๆ อาทิ มะพร้าว น้�ำเต้า (ฟักทอง)
52 วัฒนธ รม