Page 45 - CultureMag2015-3
P. 45
กี ฬ า - ก า ร ล ะ เ ล่ น
กองบรรณาธกิ าร
ภาพ : เวชยันต์ ธราวศิ ษิ ฏ์ งแูกรนิกมหีแางละพ้นื ทีก่ ารเลน่
กระทรวงวฒั นธรรมประกาศขน้ึ ทะเบยี น “งกู นิ หาง”
ในสาขากฬี าภูมปิ ญั ญาไทย เมอื่ ปี ๒๕๕๗ โดยบันทึกไว้ว่า
“สมัยก่อนนิยมเล่นกันทั่วไปแทบทุกจังหวัด...ไม่
ปรากฏว่าหลักฐานมีการเล่นงูกินหางกันมาตั้งแต่เม่ือใด แต่
พบวา่ การเลน่ งกู นิ หางมกี ารเลน่ กนั มาแลว้ ในสมยั รชั กาลท ี่ ๖
ดังจะเห็นได้จากการเล่นกีฬาต่างๆ ที่จัดให้มีขึ้นในงานตรุษ
สงกรานต ์ ณ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เมอื่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้
จดั ใหม้ กี ารเลน่ งกู นิ หางดว้ ย (สยามออบเซอรเ์ วอร,์ ๖ เมษายน
๒๔๗๕)...”
ข้อความขา้ งต้นชวนให้ต้ังค�ำถามอย่หู ลายประเด็น แตท่ ี่
แน่ๆ งูกินหางน่าจะเป็นการละเล่นท่ีแผ่ขยายในบริเวณกว้าง
เพราะเม่ือ ศ. ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เดินทางไปสืบค้น
ภาษาไทถน่ิ ณ เมอื งนาย รฐั ฉาน ประเทศพมา่ เมอ่ื ปี ๒๕๐๑
ก็พบการละเล่นลักษณะน้ีในช่วงพักกลางวันของโรงเรียน
แห่งหน่งึ ดงั ทท่ี ่านได้บันทึกไวว้ ่า
“พวกที่ออกไปเล่นกลางแจ้ง...อย่างหน่ึงเหมือนงูกิน
หาง มีตัวพ่อถาม ตัวลูกและแม่ตอบ แล้วพ่อก็ไล่จับ แต่เขา
ไม่เรียกขานหรือโต้ตอบกันเป็นค�ำไทยๆ เขาใช้ค�ำพม่าทั้งนั้น
กเ็ ลยไม่รู้วา่ พดู อะไรกนั ”
ก่อนหน้าน้ันในปี ๒๔๙๘ ท่านได้เคยเดินทางไปใน
รฐั อสั สมั ประเทศอนิ เดยี พบการละเลน่ อยา่ งหนง่ึ ดงั มบี นั ทกึ
ไว้วา่
“โต๊แม้งแหบ หรือตัวแมงป่องน้ัน คือการเล่นงู
กินหาง เวลาพ่องูวิ่งไล่จับลูกงูน้ันจะต้องร้องว่า เก๊าแม้งแหบ
แต๊บหลุ่กเม่อ-อ ซึ่งแปลว่า เราเป็นแมงป่อง เราตัด (ฟัน)
ลูกเจ้า (จะเอาลกู เจ้าไป)”
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 43