Page 47 - CultureMag2015-3
P. 47
การแสดงงกู นิ หางดงั กลา่ ว บา้ งเรยี กวา่ “ระบ�ำแมง่ ”ู นอกจากการเล่นในชีวิตประจ�ำวันแล้ว เม่ือมี
ตอ่ มานยิ มฝกึ หดั รอ้ งรำ� แสดงในงานของโรงเรยี นและงานทวั่ ไป กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับประเพณีไทย เช่น
รวมถึงการแสดงของกรมศิลปากรยุคปัจจุบันและละครของ สงกรานต์ วันส�ำคัญทางศาสนา หรือกิจกรรมการแสดงทาง
มหาวิทยาลัยนเรศวรเม่อื ป ี ๒๕๕๖ วัฒนธรรมต่างๆ ก็มักพบเห็นหมู่เด็กชายหญิงอายุราวไม่เกิน
๑๐ ขวบ นงุ่ โจงกระเบน ใสเ่ สอื้ คอกระเชา้ มดั จกุ ฯลฯ มารอ้ ง
คณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู หรือท่ีเรียกกัน เล่นสาธิตเปน็ ท่นี ่าเอน็ ดู
ท่ัวไปว่า “วงสวนพลู” ซ่ึงก่อต้ังเมื่อปี ๒๕๔๓ โดยมีครูดุษฎี
พนมยงค์ ศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้อ�ำนวยการ ก็ได้เคยน�ำ วิธีเล่นงูกินหางท่ีพบบ่อย คือการแบ่งผู้เล่นเป็นสอง
บทเพลงนม้ี าขบั ร้อง ฝ่าย ฝ่ายหน่ึงสมมุติบทบาทเป็นแม่งู มีลูกงูเกาะเอวต่อกัน
ตามจ�ำนวนผู้เล่น พบเห็นบ่อยก็ในราว ๘–๑๐ คน อีกฝ่าย
งูกินหาง สมมตุ ติ นเปน็ พอ่ งผู โู้ ดดเดยี่ ว เรม่ิ เลน่ ดว้ ยการเจรจาโตต้ อบกนั
กับการละเลน่ พน้ื บา้ น ส้ันยาวตามแต่ละถ่ิน และน่าจะมีหลากส�ำนวน บางส�ำนวน
แสดงถงึ เชาวนไ์ วไหวพรบิ ดา้ นภาษาทห่ี าคำ� คลอ้ งจองมาโตต้ อบ
การเล่นงูกินหางนี้พบว่าตามโรงเรียนต่างๆ ทั่ว กนั โดยท่วั ไปจะเปน็ บทสนทนาสั้นๆ ว่า
ประเทศยังนิยมให้เด็กชั้นเล็กๆ เล่นกันในวิชาพลศึกษา บ้าง
กจ็ ดั เปน็ นนั ทนาการ หรอื กจิ กรรมกลางแจง้ แมค้ รไู มน่ �ำเลน่ พอ่ ง ู : แมง่ เู อย๋ แม่งู : เอย๋
เด็กๆ ก็ยังเล่นกันเองเพราะเป็นการละเล่นท่ีมีการวิ่งไล่จับ พ่อง ู : กินน้�ำบ่อไหน แม่ง ู : กนิ น้�ำบ่อหนิ
ซึง่ เปน็ เรือ่ งสนกุ ของวัยเยาว์ ลูกง ู : บนิ ไปก็บนิ มา
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 45